กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ การจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา ตากอง ปี 67 ”

หมู่ที่ 6 บ้านตากอง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมะแอ ยูโซะ

ชื่อโครงการ การจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา ตากอง ปี 67

ที่อยู่ หมู่ที่ 6 บ้านตากอง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3065-2-12 เลขที่ข้อตกลง 14/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา ตากอง ปี 67 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 6 บ้านตากอง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา ตากอง ปี 67



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา ตากอง ปี 67 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 6 บ้านตากอง ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3065-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,920.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญของโรงเรียน ชุมชน สาเหตุเนื่องมาจากการเพิ่มของประชากรในพื้นที่ที่มีจำนวนมากขึ้น ธุรกรรมการค้าขายที่เน้นความสะดวกสบาย การใช้ถุงพลายติกในรูปแบบบรรจุเป็นแก้ว ถุงหิ้ว ขนมบรรจุห่อที่พร้อมกิน จำนวนร้านค้าที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี บวกกับพฤติกรรมที่ขาดวินัยในการดูแลความสะอาด การขาดจิตสำนึก ความตระหนัก ดังกล่าวข้างต้นเป็นเหตุ ให้เกิดขยะ ความสกปรก ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย ตาดีกานูรุลยันนะห์ (ตากอง) มีปริมาณขยะที่เป็นพลาสติกสูงเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้น คือการไม่คัดแยกขยะก่อนนำไปทิ้ง ขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทาง รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่ หากปล่อยให้ขยะมีปริมาณมาก ไม่สร้างวินัยให้กับเด็กตั้งแต่เล็กๆ ก็จะส่งผลกระทบต่อจิตใต้สำนึก ขาดความตระหนักแล้ว อนาคตชุมชน หมู่บ้าน โรงเรียน ก็จะสกปรก เต็มไปด้วยขยะ ขยะเป็นแหล่งก่อให้เกิดโรคหรือพาหะของโรคต่างๆ เช่น ทำให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ โรคในระบบทางเดินอาหาร โรคในระบบผิวหนัง เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรคต่างๆ ดังนั้นจำเป็นและเร่งด่วนอย่างยิ่งที่ทุกองค์กรหรือหน่วยงานในพื้นที่ที่จะต้องร่วมกันแก้ปัญหาเรื่องของการจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ เพื่อให้ชุมชน หมู่บ้านสะอาดหน้ามอง ปลอดขยะ การจะแก้ไขปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้น ต้องเริ่มจากจุดเล็กๆ ก่อน ด้วยการปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการทิ้งขยะให้กับนักเรียน ให้นักเรียนได้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะเมื่อนักเรียนรู้จักแยกขยะและทิ้งขยะให้เป็นที่เป็นทางแล้วก็จะทำให้โรงเรียนสะอาด บ้านนักเรียนก็สะอาด ปริมาณขยะก็จะลดลง ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อสิ่งแวดล้อม ต่อชุมชน เมื่อเริ่มต้นจากในตาดีกาได้ผลดีแล้วก็สามารถขยายผลไปยังชุมชน
ชมรมตาดีกา หมู่ 6 ตากอง เป็นองค์กรหนึ่งในพื้นที่ที่มีปฏิสัมพันธ์กับเยาวชนวัยเรียนในพื้นที่มายาวนาน อยากมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน จึงจัดทำโครงการการจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา ตากอง ปี 67 ขึ้น โดยใช้หลักการ ๓ Rs (Reduce (ลดการใช้) Reuse (การใช้ซ้ำ) และ Recycle (การนำกลับมาใช้ใหม่) เพื่อของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยง ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมในตาดีกา
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องประเภทขยะ การคัดแยกขยะที่ถูกต้อง รู้จักประโยชน์ของขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. สร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชน
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา
  3. ส่งเสริมการคัดแยกขยะในแต่ละประเภท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมในตาดีกา
  2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องขยะ การคัดแยกขยะที่ถูกต้อง รู้จักนำขยะไปใช้ประโยชน์
  3. แหล่งเพาะพันธ์ของพาหะนำโรค ในพื้นที่ลดลง
  4. จำนวนขยะในตาดีกาลดลง บริเวณอาคารตาดีกามีความสะอาดมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมในตาดีกา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมในตาดีกา
80.00 64.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องประเภทขยะ การคัดแยกขยะที่ถูกต้อง รู้จักประโยชน์ของขยะ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องประเภทขยะ การคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
80.00 64.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีจิตสำนึกในการคัดแยกขยะและรักษาสิ่งแวดล้อมในตาดีกา (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องประเภทขยะ การคัดแยกขยะที่ถูกต้อง รู้จักประโยชน์ของขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา (3) ส่งเสริมการคัดแยกขยะในแต่ละประเภท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การจัดการขยะมูลฝอยในตาดีกา ตากอง ปี 67 จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L3065-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะแอ ยูโซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด