แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ โรคไข้เลือดออก | 1 ก.พ. 2567 | 6 ส.ค. 2567 |
|
ดำเนินการจัดทำป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์ ไข้เลือดออก จำนวน 10 ป้าย |
|
ป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์ ไข้เลือดออก จำนวน 10 ป้าย |
|
อบรม ความรู้ ทักษะ การดำเนินงานเกี่ยวข้อง กับโรคไข้เลือดออก กลุ่มแกนนำ ด้านสุขภาพ | 1 มี.ค. 2567 | 12 ก.ค. 2567 |
|
อบรม ความรู้ ทักษะ การดำเนินงานเกี่ยวข้อง กับโรคไข้เลือดออก กลุ่มแกนนำ ด้านสุขภาพ |
|
อบรม ความรู้ ทักษะ การดำเนินงานเกี่ยวข้อง กับโรคไข้เลือดออก กลุ่มแกนนำ ด้านสุขภาพ จำนวน 130 คน แกนนำมีความรู้ และสถานะการณ์โรคไข้เลือดออก ทักษะในการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลิอดออก ร้อยละ 100 |
|
ประชุม ค้นหา กำหนดรูปแแบการดำเนินงาน ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้าน | 1 เม.ย. 2567 | 19 ก.ค. 2567 |
|
ดำเนินการเชิญแกนนำ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในหมู่บ้าน เข้าร่วมประชุมหารือ เพื่อค้นหา กำหนดรูปแแบการดำเนินงาน ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้าน
โดยจัด หมู่บ้าน ละ 1 วัน เป็นจำนวน 7 หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย รวมจำนวน 230 คน ดังนี้
หมู่ที่ 1 วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านสันติสุข กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 41 คน
ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
หมู่ที่ 2 วันที่ 23 กรกฎาคม 2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านหาญ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน22 คน
ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
หมู่ที่ 3 วันที่ 24 กรกฎาคม 2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านบ่อหิน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน
ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
หมู่ที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านนาข่าเหนือ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 27 คน
ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น.
หมู่ที่ 5 วันที่ 26 กรกฎาคม 2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านดาหลำ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 33 คน |
|
กลุ่มแกนนำ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในหมู่บ้าน เข้าร่วมประชุมหารือ เพื่อค้นหา กำหนดรูปแแบการดำเนินงาน ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้าน
โดยจัด หมู่บ้าน ละ 1 วัน เป็นจำนวน 7 หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย รวมจำนวน 230 คน ดังนี้
กติกาชุมชน มาตรการ ดังนี้
1.คณะ อสม.จะออกสำรวจพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ โดยแบ่งเขตรับผิดชอบ หลังคาเรือนแต่ละหมู่บ้าน
2.หากพบว่าบ้านไหนมีแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย จะเป็นในหม้อไห โอ่งอ่าง กระถางแตกบิ่น แอ่งดิน หลุมขยะ ฯลฯ ทีม อสม.จะแจ้งให้เ้จ้าของบ้าน
รับทราบ แล้วช่วยกันทำลาย แจกทรายอะเบทให้ เอาไว้ใส่ภาชนะที่มีน้ำขังในการนี้จะนับว่าเป็นการเตือนครั้งที่ 1
3.หลังจากจาการสำรวจครั้งแรก จะมีการสำรวจครั้งที่ 2 เพื่อดูว่า บ้านหลังนั้นๆ มีการระมัดระวังการก่อตัวของลูกน้ำยุงลายอีกหรือไม่
ถ้าพบว่ายังมีอีก จะช่วยกันทำเหมือนครั้งแรก และถือว่าเป็นการเตือนครั้งที่ 2 |
|