กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงาน ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาขาว ปี 2567

ชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอละงู จังหวัดสตูล

รหัสโครงการ 67-L5310-1-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน มีนาคม 2567 ถึงเดือน กันยายน 2567

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรม ความรู้ ทักษะ การดำเนินงานเกี่ยวข้อง กับโรคไข้เลือดออก กลุ่มแกนนำ ด้านสุขภาพ

วันที่ 12 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

อบรม ความรู้ ทักษะ การดำเนินงานเกี่ยวข้อง กับโรคไข้เลือดออก  กลุ่มแกนนำ ด้านสุขภาพ  จำนวน 130 คน แกนนำมีความรู้ และสถานะการณ์โรคไข้เลือดออก ทักษะในการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลิอดออก ร้อยละ 100

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

อบรม ความรู้ ทักษะ การดำเนินงานเกี่ยวข้อง กับโรคไข้เลือดออก  กลุ่มแกนนำ ด้านสุขภาพ

 

0 0

2. ประชุม ค้นหา กำหนดรูปแแบการดำเนินงาน ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้าน

วันที่ 19 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

กลุ่มแกนนำ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในหมู่บ้าน เข้าร่วมประชุมหารือ เพื่อค้นหา กำหนดรูปแแบการดำเนินงาน ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้าน โดยจัด หมู่บ้าน ละ 1 วัน เป็นจำนวน 7 หมู่บ้าน  กลุ่มเป้าหมาย รวมจำนวน 230 คน ดังนี้ กติกาชุมชน มาตรการ ดังนี้ 1.คณะ อสม.จะออกสำรวจพื้นที่อย่างสม่ำเสมอ โดยแบ่งเขตรับผิดชอบ หลังคาเรือนแต่ละหมู่บ้าน 2.หากพบว่าบ้านไหนมีแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย จะเป็นในหม้อไห โอ่งอ่าง กระถางแตกบิ่น แอ่งดิน หลุมขยะ ฯลฯ ทีม อสม.จะแจ้งให้เ้จ้าของบ้าน รับทราบ แล้วช่วยกันทำลาย แจกทรายอะเบทให้ เอาไว้ใส่ภาชนะที่มีน้ำขังในการนี้จะนับว่าเป็นการเตือนครั้งที่ 1 3.หลังจากจาการสำรวจครั้งแรก จะมีการสำรวจครั้งที่ 2 เพื่อดูว่า บ้านหลังนั้นๆ มีการระมัดระวังการก่อตัวของลูกน้ำยุงลายอีกหรือไม่ ถ้าพบว่ายังมีอีก จะช่วยกันทำเหมือนครั้งแรก และถือว่าเป็นการเตือนครั้งที่ 2
4.ในการสำรวจครั้งที่ 3 หากพบว่าในบ้านหลังเดิมยังมีลูกน้ำยุงลายอีก จะนับว่าเป็นการเตือนครั้งที่ 3 และครบกำหนดการเตือน ในชุมชุมมีข้อตกลงว่า เมื่อใดที่การเตือนติดต่อกันถึง 3 ครั้ง จะเข้าสู่มาตรการ อสม.จะแจ้งให้ ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่ บ้านในหมู่นั้น ทราบ และนำเข้าที่ประชุมหมู่บ้าน เพื่อให้ที่ประชุมรับทราบ บ้านไหนพบลูกน้ำยุงลาย ติดต่อกัน 3 ครั้ง

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ดำเนินการเชิญแกนนำ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในหมู่บ้าน เข้าร่วมประชุมหารือ เพื่อค้นหา กำหนดรูปแแบการดำเนินงาน ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ในหมู่บ้าน โดยจัด หมู่บ้าน ละ 1 วัน เป็นจำนวน 7 หมู่บ้าน  กลุ่มเป้าหมาย รวมจำนวน 230 คน ดังนี้ หมู่ที่ 1 วันที่ 19 กรกฎาคม  2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านสันติสุข  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 41 คน       ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. หมู่ที่ 2 วันที่ 23 กรกฎาคม  2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านหาญ  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน22 คน       ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. หมู่ที่ 3 วันที่ 24 กรกฎาคม  2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านบ่อหิน  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 50 คน       ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. หมู่ที่ 4 วันที่ 25 กรกฎาคม  2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านนาข่าเหนือ  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 27 คน       ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. หมู่ที่ 5 วันที่ 26 กรกฎาคม  2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านดาหลำ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 33 คน
      ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. หมู่ที่ 6 วันที่ 30 กรกฎาคม  2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านทุ่งเกาะปาป  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 31 คน       ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. หมู่ที่ 7 วันที่ 31 กรกฎาคม  2567 ณ.หอประชุมหมู่บ้านนาข่าใต้  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 26 คน       ตั้งแต่เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น.

 

0 0

3. จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ โรคไข้เลือดออก

วันที่ 6 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์ ไข้เลือดออก จำนวน 10 ป้าย

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ดำเนินการจัดทำป้ายไวนิล ประชาสัมพันธ์ ไข้เลือดออก จำนวน 10 ป้าย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 3 3                  
การใช้จ่ายงบประมาณ 50,000.00 50,000.00                  
คุณภาพกิจกรรม 12                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

(................................)
นายรุ่งศักดิ์ จอสกุล
ผู้รับผิดชอบโครงการ