กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการทำการเกษตรอินทรีย์ ให้แก่สมาชิกและคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมการทำการเกษตรอินทรีย์ ให้แก่สมาชิกและคนในชุมชน
60.00 70.00

 

2 เพื่อทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
60.00 70.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
60.00 70.00

 

4 เพื่อให้ความรู้เรื่องการบริโภค ผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อ การปลูก การล้าง การเก็บ และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมมีความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ การ รับประทาน อาหาร และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี
60.00 70.00

 

5 เพื่อให้มีความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือน ทำดินปลูก ทำสารชีวพันธ์กำจัดแมลง
ตัวชี้วัด : สามารถทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนและทำสารชีวพันธ์เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช
60.00 70.00

 

6 คัดกรองความเสี่ยงจากสารเคมีตกค้างในเลือดเนื่องมาจากการบริโภคสารเคมีในผักต่างๆ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมมีความเสี่ยงจากสารเคมีตกค้างในเลือดเนื่องมาจากการบริโภคสารเคมีในผักต่างๆน้อยลง
60.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการทำการเกษตรอินทรีย์ ให้แก่สมาชิกและคนในชุมชน (2) เพื่อทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค (3) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ (4) เพื่อให้ความรู้เรื่องการบริโภค ผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อ การปลูก การล้าง การเก็บ และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี (5) เพื่อให้มีความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือน ทำดินปลูก ทำสารชีวพันธ์กำจัดแมลง (6) คัดกรองความเสี่ยงจากสารเคมีตกค้างในเลือดเนื่องมาจากการบริโภคสารเคมีในผักต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมปรึกษาหารือถึงรูปแบบและวิธีการในการจัดกิจกรรม (2) ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยกำหนดกลุ่มเป้าหมาย คือ ประชาชนทั่วไปในตำบลทำนบ (3) จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์และสถานที่ในการจัดกิจกรรม (4) ประสานวิทยากรและเจ้าหน้าที่ในการอบรมให้ความรู้ (5) กิจกรรมการอบรม เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อ การล้าง การรับประทาน และ คัดกรองสารเคมีใน เลือด และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี โรคที่เกิดจากสารปนเปื้อน (6) กิจกรรมสาธิตทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือน ทำดินปลูกสำหรับปลูกผักปลอดสารพิษ ทำสารชีวพันธ์กำจัดแมลงศรัตรูพืช

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh