กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยติด บ้านติดเตียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ผู้ดูแลผู้ป่วยบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยติด บ้านติดเตียง

 

2 เพื่อให้บุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คำแนะนำผู้ป่วยปฏิบัติการละหมาดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเคสผู้ป่วย ตลอดจนผู้ดูแลสามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ผู้ดูแลคนไข้และบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คำแนะนำผู้ป่วยปฏิบัติการละหมาดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเคสผู้ป่วย ตลอดจนผู้ดูแลสามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยได้

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงสามารถปฏิบัติการละหมาดได้ และปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ในยามเจ็บป่วย หรือมีข้อจำกัดกรณีเจ็บป่วย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงสามารถปฏิบัติการละหมาดได้ และปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ในยามเจ็บป่วย หรือมีข้อจำกัดกรณีเจ็บป่วย

 

4 เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย สุขกาย สบายใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย สุขกาย สบายใจ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 30
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยบุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยยามเจ็บป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยติด บ้านติดเตียง (2) เพื่อให้บุคลากรสาธารสุขในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถให้คำแนะนำผู้ป่วยปฏิบัติการละหมาดได้อย่างถูกต้องเหมาะสมกับเคสผู้ป่วย ตลอดจนผู้ดูแลสามารถอำนวยความสะดวกให้ผู้ป่วยได้ (3) เพื่อให้ผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงสามารถปฏิบัติการละหมาดได้ และปฏิบัติได้ถูกต้องแม้ในยามเจ็บป่วย หรือมีข้อจำกัดกรณีเจ็บป่วย (4) เพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยทางด้านจิตใจและจิตวิญญาณ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย สุขกาย สบายใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานชมรมจิตอาสาสาธารณสุข (2) 2 อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง (3) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง (4) ประชุมคณะทำงานชมรมจิตอาสาสาธารณสุขเกี่ยวกับโครงการ (5) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ดูแล เจ้าหน้าที่สาธารณสุขผู้ดูแลผู้ป่วยที่เกี่ยวข้อง (6) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดบ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh