กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีแก่เยาวชนบ้านท่าราบ “สุขภาพจิตดี ชีวีแสนสุข” ประจำปี 2567 ”

ตาดีกาตาระ ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาเรียม โตะเฮง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีแก่เยาวชนบ้านท่าราบ “สุขภาพจิตดี ชีวีแสนสุข” ประจำปี 2567

ที่อยู่ ตาดีกาตาระ ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3009-02-17 เลขที่ข้อตกลง 017/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2024 ถึง 30 กันยายน 2024


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีแก่เยาวชนบ้านท่าราบ “สุขภาพจิตดี ชีวีแสนสุข” ประจำปี 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตาดีกาตาระ ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีแก่เยาวชนบ้านท่าราบ “สุขภาพจิตดี ชีวีแสนสุข” ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีแก่เยาวชนบ้านท่าราบ “สุขภาพจิตดี ชีวีแสนสุข” ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตาดีกาตาระ ม.1 ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L3009-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2024 - 30 กันยายน 2024 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นเป็นเรื่องใหญ่ นับวันเราได้ยินข่าวเพิ่มมากขึ้น ปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นส่งผลกระทบต่อพัฒนาการหลายมิติ ทั้งร่างกาย สติปัญญา จิตใจ และสังคม ส่งผลต่อการใช้ชีวิตทั้งในปัจจุบันและอนาคต ในทางร้ายสุด ผู้ประสบปัญหาอาจหาทางออกโดยการทำร้ายตัวเอง ข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก (WHO) พบว่า ในประชากรวัยรุ่น อายุระหว่าง 10-19 ปี ปัญหาสุขภาพจิตคิดเป็น 16% ของปัญหาสุขภาพทั้งหมด โดยกว่าครึ่งของผู้มีปัญหาสุขภาพจิต เริ่มมีปัญหาตั้งแต่อายุ 14 ปี แต่ไม่เคยได้รับการตรวจหรือบำบัด รักษา ทั้งนี้พบว่าในวัยรุ่น ปัญหาสุขภาพจิตเป็นตัวการสร้างความเจ็บป่วย ทุพพลภาพ และการฆ่าตัวตายจัดเป็นสาเหตุลำดับ 3 ของการเสียชีวิตของประชากรวัย 15-19 ปีนอกจากนี้ จากจำนวนประชากรวัยรุ่นทั่วโลก ที่ 90% อาศัยในประเทศรายได้ขั้นกลางและขั้นต่ำ จำนวนการฆ่าตัวตายในวัยรุ่นกว่า 90% เกิดในประเทศเหล่านี้ ข้อมูลจาก Mental Health Foundation (UK) ระบุว่า มีเด็กและวัยรุ่นราว 1 ใน 10 ที่เผชิญปัญหาสุขภาพจิต โดย 70% ของเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหา ไม่ได้รับการตรวจหรือรักษาตั้งแต่อายุยังน้อย ซึ่งช่วยแก้ปัญหาได้มีประสิทธิภาพกว่า ขณะที่ในยุโรป WHO ระบุว่ามีราว 8%-23% ของเด็กและวัยรุ่นที่มีปัญหาสุขภาพจิต จากสถิติข้างต้นจะเห็นว่า ปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นเป็นเรื่องใหญ่ และกำลังเกิดขึ้นในทุกประเทศจริง ๆ ทั้งนี้ข้อมูลจาก นพ.พนม เกตุมาน ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ สาขาวิชาจิตเวชเด็กและวัยรุ่น คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ระบุว่า วัยรุ่นเป็นวัยที่มีปัญหาสุขภาพจิตมากที่สุดวัยหนึ่ง แสดงออกมาในรูปพฤติกรรมต่าง ๆ เช่น ดื้อ ไม่เชื่อฟัง ละเมิดกฎเกณฑ์ มีเพศสัมพันธ์แบบไม่เหมาะสม ใช้ยาเสพติด ทำผิดกฎหมาย ติดเกม ติดการพนัน โดยพฤติกรรมบางอย่างมักเกิดขึ้นมานาน ทำให้แก้ไขยาก นอกจากนี้ในยุคดิจิทัล ที่วัยรุ่นใช้เวลาบนโลกอินเตอร์เน็ตมากขึ้น ก็ทำให้มีปัจจัยเสี่ยงใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น ทั้งสื่อ ข้อมูล โอกาสเจอคนหลากหลายเพิ่มขึ้น สิ่งเหล่านี้เสี่ยงเพิ่มปัญหาสุขภาพจิตให้หนักขึ้นด้วย ยุคโควิด-19 มีผลซ้ำเติมปัญหาสุขภาพจิตวัยรุ่นให้เพิ่มมากขึ้น HealthDay News (มี.ค. 2564) เปิดเผยผลสำรวจผู้ปกครองเกือบ 1,000 คนที่มีลูกวัยรุ่นพบว่า เกือบครึ่งของผู้ปกครองสังเกตว่าลูกตนมีสัญญาณความเครียดหรือสุขภาพจิตที่แย่ลง ส่วนหนึ่งเพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่อยากอยู่กับเพื่อน ชอบเข้าสังคม แต่โควิดจำกัดให้วัยรุ่นเจอเพื่อนได้น้อยลง ทั้งนี้ ผู้มีปัญหาสุขภาพจิต มักมีปัญหาในการปรับตัว มีอาการทางจิตเวช เช่น เครียด ซึมเศร้า เมื่อเจอปัญหา แม้เป็นปัญหาเล็ก ๆ ก็ปรับตัวได้ลำบาก วัยรุ่นเป็นวัยหัวเลี้ยวหัวต่อ อยู่ในช่วงปรับตัว ก่อร่างพื้นฐานสุขภาพจิต มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและอารมณ์ การสร้างระบบหรือกลไกเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุน โอบอุ้มวัยรุ่น ทั้งในระดับสังคม ครอบครัว หรือโรงเรียน จะช่วยลดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นลงได้
    กลุ่มปัมมูดีบ้านท่าราบได้เล็งเห็นถึงปัญหาสุขภาพจิตที่อาจจะเกิดขึ้นกับเยาวชนในหมู่บ้านท่าราบ จึงได้จัดการอบรมการส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต และพัฒนางานด้านสุขภาพจิตของเยาวชน ให้เยาวชนได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนปัญหาที่ตนเองพบเจอในชีวิตประจำวันได้ อีกทั้งยังจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความผ่อนคลายให้แก่เยาวชน เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและมีทักษะในการรับมือกับปัญหาสุขภาพจิตได้ เพราะเราตระหนักได้ว่าการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่น เป็นเรื่องที่จำเป็นและสำคัญมาก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ให้อัตราการเกิดปัญหาสุขภาพจิตของเยาวชนลดลง สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นกับเยาวชนในสังคมปัจจุบัน
  2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนมีชีวิตที่เป็นสุข มีสุขภาพจิตที่ดี ลดการเกิดโรคต่าง ๆ และมีความแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้ เด็กและเยาวชนในการส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต และกิจกรรมเกมสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนเป็นสุข เกิดความผ่อนคลาย มีความแข็งแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
  2. ค่าตอบแทนวิทยากร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีทักษะความรู้ความเข้าใจถึงปัญหาสุขภาพจิตของตนเองและผู้อื่นได้
  2. ทำให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีแนวทางในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตของตนเองและผู้อื่นได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ให้อัตราการเกิดปัญหาสุขภาพจิตของเยาวชนลดลง สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นกับเยาวชนในสังคมปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดปัญหาสุขภาพจิตของเยาวชนลดลง สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นกับเยาวชนในสังคมปัจจุบัน

 

2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนมีชีวิตที่เป็นสุข มีสุขภาพจิตที่ดี ลดการเกิดโรคต่าง ๆ และมีความแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : เยาวชนมีชีวิตที่เป็นสุข มีสุขภาพจิตที่ดี ลดการเกิดโรคต่าง ๆ และมีความแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ให้อัตราการเกิดปัญหาสุขภาพจิตของเยาวชนลดลง สร้างความรู้ ความเข้าใจ และแนวทางการแก้ปัญหาเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิตที่เกิดขึ้นกับเยาวชนในสังคมปัจจุบัน (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนมีชีวิตที่เป็นสุข มีสุขภาพจิตที่ดี ลดการเกิดโรคต่าง ๆ และมีความแข็งแรงทั้งร่างกายและจิตใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้ เด็กและเยาวชนในการส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต และกิจกรรมเกมสัมพันธ์ เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เยาวชนเป็นสุข เกิดความผ่อนคลาย มีความแข็งแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ (2) ค่าตอบแทนวิทยากร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดีแก่เยาวชนบ้านท่าราบ “สุขภาพจิตดี ชีวีแสนสุข” ประจำปี 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L3009-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมาเรียม โตะเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด