กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและเบาหวานอย่างน้อยร้อยละ80
2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่มีอายุ 45-70 ปี ได้รับการตรวจไขมันในเลือด
3. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเอง อย่างน้อยร้อยละ80

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรองประชาชนเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป โดยการตรวจร่างกาย วัดความดันโลหิต,วัดรอบเอว เจาะโลหิตปลายนิ้ว เพื่อค้นหาระดับน้ำตาลในโลหิต โดยเจ้าหน้าที่ อสม.แกนนำและเจาะเลือดในกลุ่มเสี่ยงอายุ 45-70 ปีที่ยังไม่เป็นไขมัน เพื่อได้รับการตรวจไขมันในเลือด (2) เจาะเลือดตรวจหาระดับไขมันในเลือดในกลุ่มเสี่ยง (3) อบรมกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง ให้ความรู้เรื่อง อาหาร และการปรับพฤติกรรมสุขภาพ (4) ส่งต่อผู้ป่วยพบแพทย์ตาม CPG เพื่อเข้ารับการวินิจฉัย และรับการรักษาที่ถูกต้องตามหลักของแพทย์ (5) จัดทำทะเบียนการดูแลสุขภาพ โดยแบ่งเป็น กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ในกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูง (6) ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจสุขภาพร่างกาย ตรวจสุขภาพช่องปาก ตรวจ Urine Micro Albumin ถ่ายจอประสาทตา  ตรวจคัดกรองต้อกระจก  ตรวจสุขภาพเท้าและบริการแก้ไข ทำความสะอาดเท้า ขูดตาปลา  ตัดเล็บและส่งต่อพบแพทย์ในรายที่เท้าเป็นแผลและเกิด  Infection (7) ให้คำแนะนำในกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายเก่าและรายใหม่ ติดตามเยี่ยมบ้าน ให้คำแนะนำและดูความต่อเนื่อง (8) สำรวจประชากรกลุ่มเป้าหมาย 35 ปี ขึ้นไปในพื้นที่ ม.1-12 คัดกรองด้วยวาจา วัดรอบเอว วัดความดัน และเจาะเลือด ในประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ