กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้เยาวชนหญิง ช่วงอายุ 11 – 14 ปี ในพื้นที่ตำบลกาบัง ไม่ตั้งครรภ์ก่อนอันควร ร้อยละ 5
ตัวชี้วัด : เยาวชนหญิง ช่วงอายุ 11 – 14 ปี ในพื้นที่ตำบลกาบัง ไม่ตั้งครรภ์ก่อนอันควร
60.00 70.00

 

 

 

2 เพื่อให้เยาวชนหญิง ช่วง อายุ 15 - 19 ปี ในพื้นที่ตำบลกาบัง ไม่ตั้งครรภ์ซ้ำ ร้อยละ 10
ตัวชี้วัด : เยาวชนหญิง ช่วง อายุ 15 - 19 ปี ในพื้นที่ตำบลกาบัง ไม่ตั้งครรภ์ซ้ำ
60.00 70.00

 

 

 

3 เพื่อให้เยาวชนในโรงเรียนที่ตั้งครรภ์ สามารถเรียนต่อได้ ร้อยละ 100
ตัวชี้วัด : เยาวชนในโรงเรียนที่ตั้งครรภ์ สามารถเรียนต่อได้ ทุกคน
60.00 70.00

 

 

 

4 จัดทำแผนออกปฏิบัติการเยี่ยมโรงเรียนและติดตามแกนนำนักเรียน
ตัวชี้วัด : สร้างความตระหนักและมีความรู้เรื่องเพศวิถี การจัดการอารมณ์และการป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในกลุ่มเยาวชน นักเรียน
0.00 70.00

 

 

 

5 ประเมินติดตามศูนย์เพื่อนใจวัยรุ่น ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : องค์กรการปกครองท้องถิ่น และภาคีสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนารูปแบบการดูแลเยาวชนชุมชนให้ได้รับบริการในกรณีมีปัญหา ส่งเสริมกิจกรรมสภาเด็กและเยาวชน
0.00 70.00