กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็ก 0- 5ปี (Pattani smart kids)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 เด็กเล็ก (Pattani smart kids) ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และเจาะเลือดหาภาวะซีด
1.00 2.00

 

2 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก0- 5ปี ในเรื่องการดูแลเด็กให้มีภาวะโภชนาการสูงดี สมส่วน /ผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการและแนวทางแก้ไขการเจริญเติบโตช้าในเด็ก
ตัวชี้วัด : .ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและการเจริญเติบโตช้า ได้รับความรู้ ร้อยละ 100 2.ร้อยละ95 ของผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและการเจริญเติบโตช้ามาตามนัด
1.00 2.00

 

3 เพื่อให้เด็ก0- 5ปี (Pattani smart kids)ที่มีภาวะทุพโภชนาการ มีภาวะซีด ได้รับการดูแลแก้ไข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของเด็กเล็ก(Pattani smart kids) ที่มีภาวะทุพโภชนาการ เจริญเติบโตช้า และ/หรือภาวะซีดมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นจากเดิมไม่น้อยกว่า 0.3 ก.ก./เดือน และมีภาวะซีดลดลงร้อยละ 30
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 25
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็ก 0- 5ปี (Pattani smart kids) (2) 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก0- 5ปี ในเรื่องการดูแลเด็กให้มีภาวะโภชนาการสูงดี สมส่วน  /ผลกระทบจากภาวะทุพโภชนาการและแนวทางแก้ไขการเจริญเติบโตช้าในเด็ก (3) เพื่อให้เด็ก0- 5ปี (Pattani smart kids)ที่มีภาวะทุพโภชนาการ  มีภาวะซีด ได้รับการดูแลแก้ไข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รวบรวมข้อมูลและตรวจสอบสภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องเจาะเลือด (2) 2.1 จัดประชุมเชิงปฎิบัติการ ให้ความรู้ผู้ปกครองที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ไม่สมส่วน ) จำนวน 1 วัน (กลุ่มเป้าหมายผู้ปกครอง เด็กที่ไม่สูงดี สมส่วน  ซีด 25 คน) (3) 2.2 ติดตามชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและซีด(ไม่สูงดี ไม่สมส่วน)ทุก 1 เดือน จำนวน 3 ครั้ง พร้อมจัดหาอาหารเสริม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh