กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี


“ โครงการ อาสาใส่ใจป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอฮานา เต็งมะ

ชื่อโครงการ โครงการ อาสาใส่ใจป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อาสาใส่ใจป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อาสาใส่ใจป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อาสาใส่ใจป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 29 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกมะเร็งเต้านม และมะเร็งลำไส้ใหญ่ เป็นสาเหตุการตายเป็นระดับ ต้นๆจากโรคมะเร็งของคนในประเทศไทย ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง ๓ คน ในประชากรหนึ่งแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ ๔,๕๐๐ ราย ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ ๓๐ - ๕๐ ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็ง ปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNC Test ตรวจโดยเจ้าหน้าที่ และตรวจด้วยตนเอง ถ้าหากตรวจทุก ๒ ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ ๙๒ % ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวกด้วยตนดองราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติ ในมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็ง จังหวัดปัตตานีในปี 2564 เริ่มมีการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ด้วยวิธี HPV DNA TEST ส่วนโรคมะเร็งเต้านม ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ ผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจค้นหามะเร็งเต้านมใน ระยะเริ่มต้น การรักษามะเร็งเต้านมในปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษา ให้หายขาดได้และการรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออกไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม ในทางตรงกันข้ามหากไม่มีการตรวจค้นหามะเร็งเต้านม รอจนกระทั่งมีอาการผิดปกติ มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยัง อวัยวะอื่น ๆ แล้ว และไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ และโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่เป็นโรคมะเร็งที่พบบ่อยอันดับต้นๆในคนไทยและอุบัติการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในปัจจุบันการตรวจคัดกรองโรคลำไส้ใหญ่ โดยวิธี ง่ายๆ รวดเร็ว และประหยัด การตรวจเลือดที่มองไม่เห็นในอุจจาระ Fecal Occult Blood test( Fit test ) ซึ่งทำโดยเก็บอุจจาระตรวจด้วยตนเอง กลุ่มเป้าหมายประชากร อายุ 50-70 ปี และกลุ่มเสี่ยง หากผลเป็นบวก ต้อได้รับการรักการงส่งต่อ สถานการณ์ การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ - ๖๐ ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบ PCU รพ.กะพ้อพบว่ากลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในปี ๒๕62-๒๕66 ร้อยละ 47.39 ,54.67 ,13.93 , 14.5.และ 21.53 ตามลำดับ ปีงบประมาณ 2566พบผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติทั้งสิ้น 2 รายได้รับการส่งต่อไปยัง รพ.ปัตตานีเพื่อตรวจชิ้นเนื้อ พบว่าผลปกติทั้ง 2ราย กลุ่มเป้าหมาย อายุ ๓0-70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมในปี ๒๕62-๒๕66 ร้อยละ 83.81, 55.8 ,71.05, 75.80 และ 75..60 ตามลำดับ กลุ่มเสี่ยงจำนวน 33 คน คัดกรองและที่พบก้อนได้รับการตรวจ ด้วย Mammogram ที่อำเภอสายบุรี่ จำนวน6 คนผลผิดปกติ3 รายส่งต่อตรวจชิ้นเนื้อ3 รายผลปกติทั้ง 3 รายและกลุ่มอายุ 50 – 70 ปี ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2566จำนวน 48คน ผลบวก 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4.16 ได้รับส่องกล้อง ที่ รพ.สายบุรี ผลปกติทั้ง 2 คน
จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า กลุ่มเป้าหมายคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจจะเป็นกลุ่มที่ยากต่อการติดตามเข้ารับบริการ การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองที่ไม่พบความผิดปกติ อาจเกิด จากการตรวจที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีทัศกษะหรือแบบการตรวจคัดกรองที่มีความซับซ้อนไม่เข้าใจและการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ยังไม่ครอบคลุมทั่วถึงในกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเสี่ยงทางชมรม อาสาสมัครสาธารณสุข ในเขตPCUได้เล้งเห็นความสำตัญในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าว จึงจัดทำโครงการ อาสา ใส่ใจ่ ป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567เพื่อทำกิจกรรมเชิงรุกในชุมชนเกิดการสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคมะเร็งย่างครอบคลุมและทั่วถี่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทัศคติที่ดี เกิดความตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดทัคษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ถูกต้อง
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่รับการตรวจคัดกรองที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์เป็นมะเร็ง
  2. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แก่กลุ่มสตรี ที่มีอายุ 30-60 ปี และ มะเร็งเต้านม ในกลุ่มสตรี ที่มีอายุ 30 - 70 ปี
  3. กิจกรรมเให้ความรูเชิงรุก และสาธิตวิธีทดสอบวิธีการตรวจมะเร็งลำใส้ โดยชุดน้ำยา Fit Test
  4. จัดกิจกรรม ให้ความรู้และแจกชุดน้ำยา Fit test และสอนวิธีการตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยตนเอง ในละแวก ของ อสม ที่รับผิดชอบ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทัศคติที่ดี เกิดความตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีที่มีอายุ 30-60 ปีได้รับความรู้ และเกิดความตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 80
1.00 2.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดทัคษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สตรีที่มีอายุ 30-70 ปีได้รับความรู้ และมีทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.00 2.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่มี อายุ 50-70 ปี และกลุ่มเสี่ยง ได้รับความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
1.00 2.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่รับการตรวจคัดกรองที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็ง พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัย ร้อยละ 100
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทัศคติที่ดี เกิดความตระหนักในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และเกิดทัคษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ถูกต้อง (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่รับการตรวจคัดกรองที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อ เพื่อการวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้เรื่องการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก/มะเร็งเต้านม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์เป็นมะเร็ง (2) กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แก่กลุ่มสตรี ที่มีอายุ 30-60 ปี และ มะเร็งเต้านม ในกลุ่มสตรี ที่มีอายุ  30 - 70 ปี (3) กิจกรรมเให้ความรูเชิงรุก และสาธิตวิธีทดสอบวิธีการตรวจมะเร็งลำใส้ โดยชุดน้ำยา  Fit Test (4) จัดกิจกรรม ให้ความรู้และแจกชุดน้ำยา  Fit test และสอนวิธีการตรวจมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยตนเอง ในละแวก ของ อสม ที่รับผิดชอบ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อาสาใส่ใจป้องกันมะเร็ง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอฮานา เต็งมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด