แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
๑. ประชุมคณะกรรมการ และคณะทำงานสุขภาพชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการ | 1 เม.ย. 2567 | 1 เม.ย. 2567 |
|
ประชุม วางแผน |
|
มีผู้เข้าร่วม 10 คน คิดเป็นร้อยละ100 ของผู้เข้าร่วม |
|
๒. กิจกรรมให้ความรู้แก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง | 1 พ.ค. 2567 | 6 พ.ค. 2567 |
|
ให้ความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง วันที่ 6 พฤษภาคม 2567 เพื่อให้ตระหนักในการป้องกันโรค โดยวิทยากร นายอดิศักดิ์ หมันหมาด |
|
มีความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพและการป้องกันโรคจากการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไปรวมทั้งผู้ปกครอง เพื่อให้ตระหนักในการป้องกันโรค |
|
๓. กิจกรรมบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชน ทั่วไป | 1 พ.ค. 2567 | 6 พ.ค. 2567 |
|
จัดบริการหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศแก่เด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ในวันที่ 6 พฤษภาคม 2567 โดยมีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม 40 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย - ผู้เข้าร่วมขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป มีระดับความพึงพอใจในการเข้าร่วม โครงการด้านวิทยากรในระดับมากด้านการบริหาร จัดการ ในระดับมาก และด้านประโยชน์ของกิจกรรมในระดับมากที่สุด |
|
|
|
๔. ติดตามเยี่ยม การดูแลของแผลภาวะแทรกซ้อนหลังการทำขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศได้ตั้งแต่ 3 วันขึ้นไป | 1 พ.ค. 2567 | 1 พ.ค. 2567 |
|
หลังกลุ่มเป้าหมายรับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ คณะผู้จัดโครงการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายทั้ง 40 คน ผลปรากฏว่า แผลจากการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้รับการดูแล ไม่มีการอักเสบ และไม่มีการติดเชื้อ |
|
หลังกลุ่มเป้าหมายรับบริการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ คณะผู้จัดโครงการติดตามเยี่ยมกลุ่มเป้าหมายทั้ง 40 คน ผลปรากฏว่า แผลจากการขริบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศของเด็กเยาวชนและประชาชนทั่วไป ได้รับการดูแล ไม่มีการอักเสบ และไม่มีการติดเชื้อ |
|