กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
1. กิจกรรมประชาสัมพันธ์โครงการ/รับสมัครสมาชิก - ค่าสื่อรณรงค์/ประชาสัมพันธ์โครงการ - ค่าใบสมัคร - ค่าสมุดบัญชีคู่ฝาก - ค่าวัสดุอุปกรณ์สำนักงาน 1 เม.ย. 2567 29 เม.ย. 2567

 

  1. จัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล ชุมชนบ้านกลาง เทศบาลตำบลปากพะยูน

- แต่งตั้งคณะกรรมการบริหาร  คณะกรรมการการดำเนินงานและคณะทำงานธนาคารขยะ - จัดทำระเบียบการดำเนินงานธนาคารขยะ - จัดทำบัญชีเงินฝากธนาคารขยะ 2. ประชาสัมพันธ์โครงการให้ความรู้และหลักการดำเนินงานของการจัดตั้งธนาคารขยะและเปิดรับสมัครสมาชิกธนาคารขยะ
- มีผู้สมัครสมาชิกจำนวน 97  คน
- มีสมาชิกนำขยะรีไซเคิลมาฝากเฉลี่ยร้อยละ 30 ต่อครั้ง

 

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ปริมาณขยะรีไซเคิลในชุมชนลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ชุมชนมีความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย

ประชาชนมีรายได้และได้รับสวัสดิการจากการนำขยะมาฝากให้กับธนาคารขยะชุมชน

ประชาชนสมัครเป็นสมาชิกธนาคารขยะชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงานและส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม

 

2. กิจกรรม เปิดรับฝากขยะรีไซเคิล - ค่าถุงใส่ขยะขนาดใหญ่ 1 พ.ค. 2567 1 พ.ค. 2567

 

  1. เปิดรับฝากขยะเดือนละ 1 ครั้ง

- มีการเปิดรับฝากขยะประจำเดือนๆละ 1 ครั้ง สถานที่ดำเนินการ สำนักงานเทศบาลตำบล      ปากพะยูน เปิดมาแล้วทั้งหมด จำนวน 5 ครั้ง รายละเอียดดังนี้ ประจำ เดือน น้ำหนักรวม(กก.) ยอดซื้อ (บาท) ยอดขาย(บาท) กำไร (บาท) กำไรสะสม (บาท) ยอดเงินในบัญชี (บาท) หมายเหตุ มีนาคม 279.35 1,647.25 1,804 156.75 156.75 1,804
เมษายน 614.10 3,370.45 4,366 995.55 1,152.30 6,170
พฤษภาคม 287.20 1,550.53 2,365 814.47 1,966.77 8,535
กรกฎาคม 341.60 1,518.14 2,161 642.86 2,609.63 10,696
สิงหาคม 319.33 1745.22 2,590 844.78 3,455.41 13,287 ได้ดอกเบี้ย 9.71 รวม 13,967.71

 

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ปริมาณขยะรีไซเคิลในชุมชนลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ชุมชนมีความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อย

ประชาชนมีรายได้และได้รับสวัสดิการจากการนำขยะมาฝากให้กับธนาคารขยะชุมชน

ประชาชนสมัครเป็นสมาชิกธนาคารขยะชุมชนให้ความร่วมมือในการดำเนินงานและส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม