กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ 1 มิ.ย. 2567 17 ก.ย. 2567

 

4.1 ตั้งคณะทำงานชุมชนปลอดบุหรี่ และจัดประชุมคณะทำงาน           4.2 ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและให้ความร่วมมือความสนใจเข้าร่วมโครงการ
4.3 สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทุกครัวเรือนด้วยแบบสำรวจก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ และคืนข้อมูลสู่ชุมชน 4.4 จัดทำทะเบียน กลุ่มติดบุหรี่ กลุ่มเสี่ยง รวมถึงกลุ่มประชาชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ  และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น จำนวนร้านค้าขายบุหรี่ในชุมชน  จำนวนมัสยิดในชุมชน ฯลฯ
4.5 สนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ และส่งเสริมการปฏิบัติตาม กฎหมาย จัดโซนนิ่งเขตสูบบุหรี่/ไม่สูบบุหรี่ 4.5.1 จัดทำนโยบายและประกาศ มัสยิด/ชุมชนปลอดบุหรี่ 4.5.2 จัดประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อแจ้งเรื่องการดำเนินงานตามโครงการ 4.5.3 จัดระบบเฝ้าระวังโดยแกนนำชุมชน อาสาสมัคร อสม. ในกลุ่มเสี่ยง 4.5.4 ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เช่น ร้านค้าในชุมชนห้ามขายบุหรี่
แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี การห้ามติดป้ายโฆษณาบุหรี่ 4.6 จัดกิจกรรมรณรงค์ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง โดยให้สอดคล้องกับปัญหาและวิถีวัฒนธรรมของชุมชน 4.7 จัดมุมความรู้ในมัสยิด ร้านค้าในชุมชน ให้มีสื่อ ที่ให้ความรู้แก่คนที่มีการศึกษาและวัยต่างๆ 4.8 จัดงานรณรงค์ไม่สูบบุหรี่สอดคล้องกับงานบุญ ประเพณี หรือเทศกาลต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก 31 พ.ค. และวันสำคัญทางประเพณีหรือเทศกาลต่าง ๆ รณรงค์ “บ้านปลอดบุหรี่” พร้อมมอบป้าย 4.9 สนับสนุน ให้ความรู้ ช่วยเหลือให้เข้าถึงบริการ และสร้างแรงจูงใจเลิกบุหรี่ “กลุ่มติดบุหรี่” 4.9.1 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่ให้เข้าร่วมโครงการ
4.9.2 ร่วมมือกับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มีคลินิกเลิกบุหรี่ เพื่อส่งต่อผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่เข้ารับคำปรึกษาแนะนำและรักษา 4.9.3 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่เลิกบุหรี่ : รางวัลคนต้นแบบ (เลิกสูบบุหรี่) 4.9.4 สนับสนุนให้มีกลุ่ม/ชมรมเลิกบุหรี่
4.9.5 จัดทำเอกสารให้ความรู้ สร้างความเข้าใจขั้นตอนการเลิกบุหรี่

 

7.1 งบประมาณจัดประชุมคณะทำงานและประชาสัมพันธ์โครงการ  จำนวน  5,750  บาท ค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะทำงานฯ และผู้ดำเนินงาน จำนวน 50 คน ๆ ละ 35 บาท/มื้อ จำนวน  1 มื้อ              เป็นเงิน  1,750  บาท - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด 1 x 2 เมตร แผ่นละ 500 บาท จำนวน 8 แผ่น   เป็นเงิน  4,000  บาท

 

งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่ 1 มิ.ย. 2567 17 ก.ย. 2567

 

7.2  งบประมาณสำหรับการสนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ มัสยิด ปลอดบุหรี่ จำนวน 14,200 บาท เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าป้ายประกาศนโยบาย  ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 8 ป้าย ๆ ละ 500 บาท
  เป็นเงิน  4,000  บาท - ค่าป้ายห้ามสูบบุหรี่  ขนาด 30 x 60 ซม. จำนวน 16 ป้าย ๆ ละ 300 บาท
  เป็นเงิน  4,800  บาท - ค่าป้ายเขตสูบบุหรี่  ขนาด 30 x 60 ซม. จำนวน 8 ป้าย ๆ ละ 300 บาท  เป็นเงิน  2,400  บาท - ค่าสติกเกอร์ห้ามสูบบุหรี่  จำนวน 150 แผ่น ๆ ละ 20 บาท   เป็นเงิน  3,000  บาท

 

8.1  ชุมชนมีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลดละเลิกบุหรี่ 8.2  มีคนต้นแบบในชุมชนที่สามารถเลิกบุหรี่ได้

 

งบประมาณ จัดอบรมให้ความรู้ 1 มิ.ย. 2567 1 มิ.ย. 2567

 

4.1 ตั้งคณะทำงานชุมชนปลอดบุหรี่ และจัดประชุมคณะทำงาน           4.2 ประชาสัมพันธ์โครงการให้ประชาชนในพื้นที่ทราบและให้ความร่วมมือความสนใจเข้าร่วมโครงการ
4.3 สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทุกครัวเรือนด้วยแบบสำรวจก่อนและหลังการดำเนินงานโครงการ และคืนข้อมูลสู่ชุมชน 4.4 จัดทำทะเบียน กลุ่มติดบุหรี่ กลุ่มเสี่ยง รวมถึงกลุ่มประชาชนที่มีความประสงค์เข้าร่วมโครงการ  และข้อมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น จำนวนร้านค้าขายบุหรี่ในชุมชน  จำนวนมัสยิดในชุมชน ฯลฯ
4.5 สนับสนุนให้ชุมชนจัดสภาพแวดล้อมให้เป็นชุมชนปลอดบุหรี่ และส่งเสริมการปฏิบัติตาม กฎหมาย จัดโซนนิ่งเขตสูบบุหรี่/ไม่สูบบุหรี่ 4.5.1 จัดทำนโยบายและประกาศ มัสยิด/ชุมชนปลอดบุหรี่ 4.5.2 จัดประชุมคณะกรรมการมัสยิด เพื่อแจ้งเรื่องการดำเนินงานตามโครงการ 4.5.3 จัดระบบเฝ้าระวังโดยแกนนำชุมชน อาสาสมัคร อสม. ในกลุ่มเสี่ยง 4.5.4 ส่งเสริมให้มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เช่น ร้านค้าในชุมชนห้ามขายบุหรี่
แก่เด็กที่มีอายุต่ำกว่า 18 ปี การห้ามติดป้ายโฆษณาบุหรี่ 4.6 จัดกิจกรรมรณรงค์ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และค่านิยมที่ถูกต้อง โดยให้สอดคล้องกับปัญหาและวิถีวัฒนธรรมของชุมชน 4.7 จัดมุมความรู้ในมัสยิด ร้านค้าในชุมชน ให้มีสื่อ ที่ให้ความรู้แก่คนที่มีการศึกษาและวัยต่างๆ 4.8 จัดงานรณรงค์ไม่สูบบุหรี่สอดคล้องกับงานบุญ ประเพณี หรือเทศกาลต่างๆ เช่น วันงดสูบบุหรี่โลก 31 พ.ค. และวันสำคัญทางประเพณีหรือเทศกาลต่าง ๆ รณรงค์ “บ้านปลอดบุหรี่” พร้อมมอบป้าย 4.9 สนับสนุน ให้ความรู้ ช่วยเหลือให้เข้าถึงบริการ และสร้างแรงจูงใจเลิกบุหรี่ “กลุ่มติดบุหรี่” 4.9.1 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่ให้เข้าร่วมโครงการ
4.9.2 ร่วมมือกับโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลที่มีคลินิกเลิกบุหรี่ เพื่อส่งต่อผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่เข้ารับคำปรึกษาแนะนำและรักษา 4.9.3 สนับสนุนสร้างแรงจูงใจให้กลุ่มติดบุหรี่เลิกบุหรี่ : รางวัลคนต้นแบบ (เลิกสูบบุหรี่) 4.9.4 สนับสนุนให้มีกลุ่ม/ชมรมเลิกบุหรี่
4.9.5 จัดทำเอกสารให้ความรู้ สร้างความเข้าใจขั้นตอนการเลิกบุหรี่

 

  1. อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียน จำนวน 11,600 บาท

- ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรม (ผู้ดำเนินงาน 10 คน) จำนวน 10 คนๆ ละ 80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ   เป็นเงิน 800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ และผู้ดำเนินงาน
จำนวน 70 คน ๆ ละ 35 บาท/มื้อ จำนวน  2  มื้อ  เป็นเงิน  4,900  บาท - ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 500 บาท เป็นเงิน    500  บาท - ค่าป้ายห้ามสูบบุหรี่  จำนวน 6 ป้าย ๆ ละ 300 บาท   เป็นเงิน  1,800  บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 คน
  คนละ 2 ชั่วโมง     เป็นเงิน  3,600  บาท 2. อบรมให้ความรู้คณะกรรมการมัสยิด จำนวน 19,100 บาท - ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ (มัสยิดละ 12 คน จำนวน 8 แห่ง และ ผู้ดำเนินงาน 4 คน) จำนวน 100 คน ๆ ละ  80 บาท/มื้อ จำนวน 1 มื้อ      เป็นเงิน 8,000  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ และผู้ดำเนินงาน
จำนวน 100 คน ๆ ละ 35 บาท/มื้อ จำนวน  2  มื้อ    เป็นเงิน  7,000  บาท - ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย ๆ ละ 500 บาท  เป็นเงิน    500  บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 คน
  คนละ 2 ชั่วโมง     เป็นเงิน  3,600  บาท