แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
ประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ | 4 ม.ค. 2567 | 4 ม.ค. 2567 |
|
ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหา และรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ |
|
สำเร็จลุล่วง |
|
กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลฟันและช่องปาก | 1 ก.พ. 2567 | 29 ก.พ. 2567 |
|
เวลา 08.00 น. – 08.15 น. นักเรียน คณะครู บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านดูซงปาแย และผู้ปกครองนักเรียนระดับก่อนประถมศึกษา ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ เวลา 08.15 น. – 08.30 น. พิธีเปิดโครงการ โดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดูซงปาแย เวลา 08.30 น. – 09.30 น. บรรยายให้ความรู้ในหัวข้อ “ความสำคัญของสุขภาพฟันและช่องปากกับการดูแลรักษา” โดย นางสาวฮามีละ มุสิกสิน เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน เวลา 09.30 น. – 10.30 น. บรรยายให้ความรู้ในหัวข้อ “โรคในช่องปากและฟันกับการป้องกันรักษา” โดย นางสาวฮามีละ มุสิกสิน เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน เวลา 10.30 น. – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.45 น. – 11.45 น. บรรยายให้ความรู้ในหัวข้อ “วิธีการแปรงฟันที่สะอาดถูกต้องและการฝึกปฏิบัติ” โดย นางสาวฮามีละ มุสิกสิน เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขปฏิบัติงาน เวลา 11.45 น. – 12.00 น. พิธีปิดโครงการ โดยผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านดูซงปาแย |
|
1) นักเรียนเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพฟันและช่องปาก ร้อยละ 100 2) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาฟันและช่องปากของนักเรียน ร้อยละ 100 3) นักเรียน คณะครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากได้ถูกต้อง ร้อยละ 83.42 4) เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กนักเรียน ร้อยละ 81.39 |
|
มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลเข้ามาตรวจสุขภาพฟันและช่องปาก | 1 มี.ค. 2567 | 1 มี.ค. 2567 |
|
มีเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลเข้ามาตรวจสุขภาพฟันและช่องปาก |
|
ไม่มีปัญหาทางช่องปากและฟันผุ ร้อยละ 81.39 |
|
ประเมินผลการดำเนินงาน | 1 ส.ค. 2567 | 1 ส.ค. 2567 |
|
ประเมินผลการดำเนินงานกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมสุขภาพการดูแลรักษาฟันและช่องปากของนักเรียน |
|
1) นักเรียนเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาสุขภาพฟันและช่องปาก ร้อยละ 100 2) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาฟันและช่องปากของนักเรียน ร้อยละ 100 3) นักเรียน คณะครู และบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพฟันและช่องปากได้ถูกต้อง ร้อยละ 83.42 4) เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กนักเรียน ร้อยละ 81.39 |
|