โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางนภษร วงศ์วัฒนากูล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L7161-2-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L7161-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,955.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนสวนผัก ได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2566 มาต่อเนื่องเป็นเวลา 3 ปี ด้วยตระหนัก และเล็งเห็นถึงความสำคัญว่าหากไปรับบริการ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลซึ่งมีผู้มารับบริการเป็นจำนวนมาก การคัดกรองในเบื้องต้นจะช่วยให้ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เร็วขึ้น ได้รับการบริการที่ทันท่วงที ลดขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุข
สถิติผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของชุมชนสวนผัก จากจำนวนประชากรที่มีอายุ 35 - 59 ปี จำนวน 508 คน เป็นชาย 254 คน หญิง 254 คนเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 8 ราย เป็นความ
ดันโลหิตสูงอย่างเดียว 28 ราย เป็นเบาหวาน 9 รายรวม 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.28(ข้อมูลเดือนตุลาคม 2565 จาก PCU ศาลาประชาคม) และหลังจากดำเนินโครงการดังกล่าวแล้วเสดในปี 2566 ค้นพบและส่งต่อผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 3 ราย
ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนสวนผักจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567เพื่อให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตัวเองได้ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่น โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ ละ เลิกสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารให้รับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกิน ให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย การช่วยส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง และเพื่อดูแลสมาชิกในครอบครัว ก็ยังเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำ อสม.ชุมชนสวนผักจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 จากการตอบแบบสอบถาม ก่อนและหลังการอบรม
- ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดอบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 ประกอบด้วย
1.ตรวจสุขภาพเบื้องต้น
2.ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
3.โรคความดันโลหิตสูง
4.ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรค
5.การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรค
6.กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
7.ซัก-ถาม ปัญหา/สรุปการอบรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ 150 คน ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง ตระหนักรู้ถึงคุณค่าของการมีสุขภาพที่ดี มีกำลังใจในการดำเนินชีวิตและดูแลตนเองเพิ่มขึ้น เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง และผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง
0.00
2
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ
ตัวชี้วัด : เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ ร้อยละ 80%
0.00
3
เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : พื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ ร้อยละ 80%
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
150
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ (3) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L7161-2-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนภษร วงศ์วัฒนากูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางนภษร วงศ์วัฒนากูล
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L7161-2-9 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L7161-2-9 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,955.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนสวนผัก ได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2566 มาต่อเนื่องเป็นเวลา 3 ปี ด้วยตระหนัก และเล็งเห็นถึงความสำคัญว่าหากไปรับบริการ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข หรือโรงพยาบาลซึ่งมีผู้มารับบริการเป็นจำนวนมาก การคัดกรองในเบื้องต้นจะช่วยให้ค้นพบผู้ป่วยรายใหม่เร็วขึ้น ได้รับการบริการที่ทันท่วงที ลดขั้นตอนการทำงานของเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุข สถิติผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของชุมชนสวนผัก จากจำนวนประชากรที่มีอายุ 35 - 59 ปี จำนวน 508 คน เป็นชาย 254 คน หญิง 254 คนเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน จำนวน 8 ราย เป็นความ ดันโลหิตสูงอย่างเดียว 28 ราย เป็นเบาหวาน 9 รายรวม 37 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.28(ข้อมูลเดือนตุลาคม 2565 จาก PCU ศาลาประชาคม) และหลังจากดำเนินโครงการดังกล่าวแล้วเสดในปี 2566 ค้นพบและส่งต่อผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 3 ราย ดังนั้น กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนสวนผักจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567เพื่อให้ความสำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตัวเองได้ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่น โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยในชุมชนและให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอันได้แก่ ละ เลิกสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารให้รับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกิน ให้ความรู้แก่ผู้ดูแลผู้ป่วย การช่วยส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลตนเอง และเพื่อดูแลสมาชิกในครอบครัว ก็ยังเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องทำ อสม.ชุมชนสวนผักจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง
- เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ
- เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 จากการตอบแบบสอบถาม ก่อนและหลังการอบรม
- ผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 |
||
วันที่ 3 พฤษภาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดอบรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานในประชากรอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานและผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 ประกอบด้วย 1.ตรวจสุขภาพเบื้องต้น 2.ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน 3.โรคความดันโลหิตสูง 4.ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรค 5.การดูแลตนเองเมื่อเป็นโรค 6.กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 7.ซัก-ถาม ปัญหา/สรุปการอบรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการ 150 คน ได้รับความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง ตระหนักรู้ถึงคุณค่าของการมีสุขภาพที่ดี มีกำลังใจในการดำเนินชีวิตและดูแลตนเองเพิ่มขึ้น เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง และผู้ป่วยรายใหม่ได้รับการดูแลอย่างเหมาะสม
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ ตัวชี้วัด : เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ ร้อยละ 80% |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด : พื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ ร้อยละ 80% |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 150 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 – 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย มีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เห็นคุณค่าและความสำคัญของตนเอง (2) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกคนในครอบครัวและชุมชนตระหนักและเล็งเห็นคุณค่าของสุขภาพ (3) เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ในประชาชนอายุ 35 - 59 ปี ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และผู้ดูแลผู้ป่วย ปี 2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2567-L7161-2-9
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนภษร วงศ์วัฒนากูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......