โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสกุล เล็งลัคน์กุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2561-L7161-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 สิงหาคม 2567 ถึง 9 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2561-L7161-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 สิงหาคม 2567 - 9 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งในเด็กไทย อายุต่ำกว่า 15 ปี โดยแหล่งน้ำที่มีเด็กเสียชีวิตมากที่สุด คือแหล่งน้ำธรรมชาติ รองลงมาคือสระว่ายน้ำ และอ่างอาบน้ำ ตามลำดับ โดยในเขตเทศบาลเมืองเบตงก็มี ลำคลองที่สำคัญไหลผ่านไปทั่วเมืองแทบทุกชุมชน เมื่อฝนตกหนักลำคลองบางช่วงก็มีน้ำขึ้นสูงและน้ำไหลเชี่ยวแรงอยู่เป็นประจำ จึงมีจุดเสี่ยงต่อการจมน้ำกระจายอยู่ในหลายชุมชน ประกอบกับโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองเบตง ไม่มีการกำหนดวิชาว่ายน้ำอยู่ในหลักสูตรของโรงเรียน จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กลุ่มอายุที่จมน้ำเสียชีวิตสูงที่สุด คือเด็กอายุ 5-9 ปี (ร้อยละ 42.1) รองลงมาคือ อายุ 0-4 ปี (31.5) และอายุ 10-14 ปี (26.4) เพศชายจมน้ำสูงกว่าเพศหญิงถึง 2.2 เท่าตัว สอดคล้องกับ สถิติการเสียชีวิตจากการจมน้ำของประชาชนในเขตอำเภอเมืองเบตง ข้อมูลจากงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเบตง รายงานว่าตั้งแต่ปี 2554 – 2567 มีข้อมูลผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำสูงถึง 13 ราย โดย 12 รายเป็นเด็กอายุ 1-15 ปี ซึ่งสถิติดังกล่าวยังไม่นับรวมกรณีจมน้ำแต่ไม่ถึงขั้นเสียชีวิตอีกด้วย ถือเป็นการสูญเสียอย่างมากซึ่งสามารถป้องกันได้ จึงถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่จำเป็นต้องได้รับการป้องกันอย่างจริงจัง
การสร้างภูมิคุ้มกันต่อการจมน้ำ จึงเป็นสิ่งสำคัญในการเพิ่มความปลอดภัยให้แก่เยาวชนในพื้นที่ได้ นอกจากนี้หากเกิดการจมน้ำขึ้น เยาวชนก็ควรมีทักษะการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือคนจมน้ำเบื้องต้นอย่างถูกวิธี เพราะบ่อยครั้งที่พบว่าการช่วยเหลือที่ไม่ถูกวิธีแทนที่จะเป็นการช่วยเหลือกลับกลายเป็นเพิ่มความสูญเสียมากยิ่งขึ้น และแม้ว่าจะช่วยผู้ประสบเหตุขึ้นมาจากน้ำได้แล้วอีกหนึ่งทักษะที่สำคัญคือการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างมีประสิทธิภาพก็จะเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของผู้ประสบเหตุได้
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง จึงเห็นความสำคัญของการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำ และการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ให้แก่เยาวชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองเบตงจึงได้จัดทำโครงการโครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง ขึ้นเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถช่วยเหลือตนเองเมื่อจมน้ำได้ รวมถึงสามารถช่วยเหลือคนจมน้ำได้อย่างถูกวิธี ตลอดจน การปฐมพยาบาลคนจมน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น สามารถนำทักษะที่ได้ไปใช้เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเองตลอดจนคนรอบข้างให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
- เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
- แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
วันที่ 9 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ช่วงเช้าจะเป็นการให้ความรู้เรื่องทักษะการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
กลุ้มที่ 1 การช่วยเหลือตนเองเมื่อจมน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในผู้ใหญ่
กลุ่มที่ 2 ตะโกนโยนยื่นและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก
กลุ่มที่ 3 การประเมินและปฐมพยาบาลคนจมน้ำและช่วยเหลือกรณีมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ช่วงบ่าย เป็นการฝึกทักษะการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อจมน้ำ แบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จากการจัดกิจกรรมมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น 40 คน ซึ่งหลังจากอบรม พบว่าผู้เข้ารับการอบรมทุกคนสามารถสาธิตการปฏิบัติย้อนกลับได้ถูกต้องและตอบคำถามที่วิทยากรถามได้ทุกรายและสามารถสาธิตการช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้อง
40
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
ตัวชี้วัด : ให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ ร้อยละ 80%
0.00
2
เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ร้อยละ 80%
0.00
3
เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ร้อยละ 80%
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ (2) เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (3) เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2561-L7161-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสกุล เล็งลัคน์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายสกุล เล็งลัคน์กุล
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2561-L7161-1-8 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 สิงหาคม 2567 ถึง 9 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2561-L7161-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 สิงหาคม 2567 - 9 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การจมน้ำเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งในเด็กไทย อายุต่ำกว่า 15 ปี โดยแหล่งน้ำที่มีเด็กเสียชีวิตมากที่สุด คือแหล่งน้ำธรรมชาติ รองลงมาคือสระว่ายน้ำ และอ่างอาบน้ำ ตามลำดับ โดยในเขตเทศบาลเมืองเบตงก็มี ลำคลองที่สำคัญไหลผ่านไปทั่วเมืองแทบทุกชุมชน เมื่อฝนตกหนักลำคลองบางช่วงก็มีน้ำขึ้นสูงและน้ำไหลเชี่ยวแรงอยู่เป็นประจำ จึงมีจุดเสี่ยงต่อการจมน้ำกระจายอยู่ในหลายชุมชน ประกอบกับโรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองเบตง ไม่มีการกำหนดวิชาว่ายน้ำอยู่ในหลักสูตรของโรงเรียน จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค กลุ่มอายุที่จมน้ำเสียชีวิตสูงที่สุด คือเด็กอายุ 5-9 ปี (ร้อยละ 42.1) รองลงมาคือ อายุ 0-4 ปี (31.5) และอายุ 10-14 ปี (26.4) เพศชายจมน้ำสูงกว่าเพศหญิงถึง 2.2 เท่าตัว สอดคล้องกับ สถิติการเสียชีวิตจากการจมน้ำของประชาชนในเขตอำเภอเมืองเบตง ข้อมูลจากงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลเบตง รายงานว่าตั้งแต่ปี 2554 – 2567 มีข้อมูลผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำสูงถึง 13 ราย โดย 12 รายเป็นเด็กอายุ 1-15 ปี ซึ่งสถิติดังกล่าวยังไม่นับรวมกรณีจมน้ำแต่ไม่ถึงขั้นเสียชีวิตอีกด้วย ถือเป็นการสูญเสียอย่างมากซึ่งสามารถป้องกันได้ จึงถือว่าเป็นปัญหาใหญ่ที่จำเป็นต้องได้รับการป้องกันอย่างจริงจัง
การสร้างภูมิคุ้มกันต่อการจมน้ำ จึงเป็นสิ่งสำคัญในการเพิ่มความปลอดภัยให้แก่เยาวชนในพื้นที่ได้ นอกจากนี้หากเกิดการจมน้ำขึ้น เยาวชนก็ควรมีทักษะการช่วยเหลือตนเองและช่วยเหลือคนจมน้ำเบื้องต้นอย่างถูกวิธี เพราะบ่อยครั้งที่พบว่าการช่วยเหลือที่ไม่ถูกวิธีแทนที่จะเป็นการช่วยเหลือกลับกลายเป็นเพิ่มความสูญเสียมากยิ่งขึ้น และแม้ว่าจะช่วยผู้ประสบเหตุขึ้นมาจากน้ำได้แล้วอีกหนึ่งทักษะที่สำคัญคือการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตลอดจนการช่วยฟื้นคืนชีพอย่างมีประสิทธิภาพก็จะเพิ่มโอกาสรอดชีวิตของผู้ประสบเหตุได้
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง จึงเห็นความสำคัญของการสร้างภูมิคุ้มกันป้องกันการจมน้ำ และการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ให้แก่เยาวชนในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองเบตงจึงได้จัดทำโครงการโครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง ขึ้นเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถช่วยเหลือตนเองเมื่อจมน้ำได้ รวมถึงสามารถช่วยเหลือคนจมน้ำได้อย่างถูกวิธี ตลอดจน การปฐมพยาบาลคนจมน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น สามารถนำทักษะที่ได้ไปใช้เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันในการดูแลตนเองตลอดจนคนรอบข้างให้มีความปลอดภัยมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
- เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ
- แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
- แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง |
||
วันที่ 9 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมได้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ช่วงเช้าจะเป็นการให้ความรู้เรื่องทักษะการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นจากการจมน้ำ โดยแบ่งกลุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ้มที่ 1 การช่วยเหลือตนเองเมื่อจมน้ำและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในผู้ใหญ่ กลุ่มที่ 2 ตะโกนโยนยื่นและการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก กลุ่มที่ 3 การประเมินและปฐมพยาบาลคนจมน้ำและช่วยเหลือกรณีมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ ช่วงบ่าย เป็นการฝึกทักษะการช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อจมน้ำ แบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ทั้งสิ้น 40 คน ซึ่งหลังจากอบรม พบว่าผู้เข้ารับการอบรมทุกคนสามารถสาธิตการปฏิบัติย้อนกลับได้ถูกต้องและตอบคำถามที่วิทยากรถามได้ทุกรายและสามารถสาธิตการช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้อง
|
40 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ ตัวชี้วัด : ให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ ร้อยละ 80% |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ตัวชี้วัด : ให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย ร้อยละ 80% |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ตัวชี้วัด : ให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น ร้อยละ 80% |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมมีทักษะการป้องกันตนเองไม่ให้จมน้ำ และมีทักษะการเอาชีวิตรอดจากการจมน้ำ (2) เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถมสามารถช่วยเหลือผู้จมน้ำได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (3) เพื่อให้แกนนำเยาวชนระดับประถม มีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ หนูจ๋ารู้ไว้ปลอดภัยจากการจมน้ำ สำหรับเด็กประถม เทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2561-L7161-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสกุล เล็งลัคน์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......