กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมการให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องขยะ 1 ต.ค. 2566 2 ก.ย. 2567

 

1)  กิจกรรมการให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องขยะ
๒)  กิจกรรมหน้าเสาธงให้ความรู้แก่ครูนักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา
๓) กิจกรรมแยกขยะห้องเรียน
- ขยะกระดาษ
- ขยะพลาสติก - ขยะทั่วไป - ขยะอันตราย
๔)กิจกรรม การลด การใช้ซ้ำ และคัดแยกนำกลับมาใช้ประโยชน์(๓Rs)
๔.๑ กิจกรรมลดขยะอินทรีย์ลดปริมาณขยะในโรงเรียนและลดการใช้ที่ฟุ่มเฟือย
- กิจกรรมกินอาหารให้หมดไม่เหลือเศษอาหาร
- ปิดไฟทุกครั้งที่ไม่ใช้งานและปิดเฉพาะจุดที่ใช้
- ปิดคอมพิวเตอร์และพัดลมเมื่อไม่ใช้งาน
- กินอาหารให้หมดจาน
- หลีกเลี่ยงบรรจุภัณฑ์ประเภทใช้ครั้งเดียว
- ใช้ถุงผ้า
๔.๒ กิจกรรมการใช้ซ้ำ
- การใช้แก้วน้ำส่วนตัว
- การใช้จานใส่อาหารแทนถุงพลาสติกและโฟม
- การใช้กระดาษสองหน้า
๔.๓ กิจกรรมนำขยะกลับมาใช้ใหม่
- ผลิตปุ๋ยชีวภาพ
- ประดิษฐ์งานเศษวัสดุ
๕) กิจกรรมธนาคารขยะ/ฐานการเรียนรู้ขยะบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
- การคัดแยกขยะ

 

1.  นักเรียนมีความรู้ มีจิตสำนึกและมีความตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชุมชนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งที่ยั่งยืน มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีทักษะการดำรงชีวิตและอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

 

กิจกรรมหน้าเสาธงให้ความรู้แก่ครูนักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา 1 ต.ค. 2566 1 ก.ย. 2567

 

กิจกรรมหน้าเสาธงให้ความรู้แก่ครูนักเรียน และบุคลากรทางการศึกษา

 

มีจิตสำนึกและมีความตระหนักในการจัดการขยะมูลฝอยและสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับชุมชนในการคัดแยกขยะก่อนทิ้งที่ยั่งยืน

 

กิจกรรมแยกขยะห้องเรียน 1 ต.ค. 2566 1 ก.ย. 2567

 

กิจกรรมแยกขยะห้องเรียน

 

นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการลดการแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ใหม่และนำมาใช้ในชีวิตประจำวันรวมทั้งให้ความร่วมมือในกิจกรรมจากโครงการโรงเรียนปลอดขยะที่โรงเรียนจัดทำขึ้น