แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
กิจกรรมอบรมโรคไข้เลือดออก | 21 ส.ค. 2567 |
|
|
|
|
|
|
กิจกรรมอบรมโรคไข้เลือดออก | 21 ส.ค. 2567 | 21 ส.ค. 2567 |
|
ส่วนที่ ๑ ๑. ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่และคณะกรรมการ ชมรม อสม.รพ.สต.บ้านสะโลเพื่อร่วมจัดทำโครงการ ๒. ดำเนินการจัดทำโครงการและเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ และดำเนินการตามโครงการ ส่วนที่ ๒ ๑. ประชุม กรรมการชมรมอสม.รพ.สต.บ้านสะโล เพื่อดำเนินการ ๒. แจ้งผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัคร(อสม.) และภาคีเครือข่าย ผู้เกี่ยวข้องฯ ๓. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอบต. โรงเรียน ชุมชน รพ.สต. และอื่นๆร่วมกันวางแผนดำเนินการ ๔. ดำเนินการตามกิจกรรม ๕. ดำเนินการประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกให้แกนนำประจำครอบครัวทุกหลังคาเรือน ๖. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และกำจัดลูกน้ำยุงลาย ๗. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข(อสม.)โดยวิธีทางกายภาพ รณรงค์เคาะประตูบ้านในชุมชนร่วมโรงเรียน พร้อมร่วมกันดำเนินการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ในชุมชนและโรงเรียน ใช้สารเคมี ใส่สารเคมีทรายอะเบทในตุ่มน้ำใช้ในครัวเรือน และโรงเรียนโดยอสม. และพ่นสารเคมีกำจัดยุงลายในพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่เกิดโรคทันทีเมื่อมีการระบาด ทางชีวภาพ ส่งเสริมความรู้ให้แกนนำประจำครอบครัวในชุมชนเกี่ยวการปลูกพืชไล่ยุง เช่นตะไคร้หอมไล่ยุง การเลี้ยงปลากินลูกน้ำ เช่น ปลาหางนกยูง ๘. แกนนำประจำครอบครัวสำรวจลูกน้ำยุงลายด้วยตัวเองทุกสัปดาห์ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบ ๙. สรุปโครงการรายงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นองค์การบริหารส่วนตำบลมะรือโบตก ๑๐. ติดตามความก้าวหน้าของโครงการหลังดำเนินการ |
|
๑. ชุมชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
๒. ลดอัตราป่วยและไม่มีผู้ป่วยตาย ด้วยโรคไข้เลือดออก
๓. กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และกำจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน |
|