กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมบ้านดุหุน ปลอดขยะ ปลอดโรคติดต่อในชุมชน 20 มิ.ย. 2567

 

 

 

 

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง การบริหารจัดการขยะอย่างครบวงจร 20 มิ.ย. 2567 20 มิ.ย. 2567

 

ขั้นตอนที่ 1 คณะทำงาน หน้าที่ของคณะทำงาน 1. ผู้จัดการธนาคาร รับผิดชอบดำเนินงาน ในภาพรวมของธนาคาร 2. เจ้าหน้าที่จดบันทึก รับผิดชอบการจดบันทึกรายละเอียด เกี่ยวกับสมาชิก ได้แก่ ชื่อ – นามสกุล เลขที่ ประเภท และปริมาณวัสดุรีไซเคิล เพื่อส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ 3. เจ้าหน้าที่คัดแยก รับผิดชอบการคัดแยกขยะ และชั่งน้ำหนักเพื่อจัดเก็บในสถานที่เก็บ 4. เจ้าหน้าที่คิดเงิน รับผิดชอบการเทียบราคาที่กำหนด และคิดจำนวนเงินของสินค้า ที่สมาชิกนำมาฝาก พร้อมทั้งรับผิดชอบการฝาก – ถอนเงินของสมาชิก 5. เจ้าหน้าที่บัญชี รับผิดชอบเอกสารต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เช่น สรุปยอดเงินฝากของสมาชิก สรุปยอดรายรับรายจ่ายของธนาคารขยะฯ และบันทึกรายละเอียด ยอดคงเหลือของสินค้า ตามประเภทปริมาณราคาโดยต้องทำการบันทึกทุกวันที่เปิดทำการ 6. เจ้าหน้าที่ควบคุมการเงิน รับผิดชอบควบคุมการเงินของธนาคารขยะ รายรับ รายจ่าย การเบิกเงินเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม การเบิกจ่ายเงินของสมาชิกธนาคารขยะ ให้สามารถตรวจสอบได้ 7. เจ้าหน้าที่ควบคุมการซื้อ-ขาย รับผิดชอบข้อมูลการซื้อ ขาย ราคาสินค้าในท้องตลาด การปรับเปลี่ยนราคา การนำสินค้าไปขายประสานร้านรับซื้อของเก่า ขั้นตอนที่ 2 คณะทำงานมีการประชุม
1. สำรวจร้านรับซื้อของเก่าที่มีอยู่ในชุมชน ราคา ประเภทของขยะรีไซเคิลที่รับซื้อ 2. ประสานงานร้านรับซื้อของเก่าให้เข้าร่วมโครงการธนาคารขยะฯ ราคาที่จูงใจ
3. กำหนดระยะเวลาที่จะเข้ามารับซื้อ 4. การวางแผนกำหนดวัน เวลา เปิด ธนาคารขยะ ขั้นตอนที่ 3 การจัดเตรียมสถานที่เก็บรวบรวม 1. ยึดหลักง่าย ๆโดยสามารถเก็บรวบรวมขยะได้
2. มีการคัดแยกขยะอย่างชัดเจน 3. มีการติดป้ายราคาของขยะที่รับซื้อ ขั้นตอนที่ 4 การประชาสัมพันธ์ 1. การเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในชุมชน
2. บันทึกลงในสมุดคู่ฝาก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานการฝากถอนของสมาชิก 3. ถ้าสมาชิกต้องการถอนเงิน ให้เขียนรายละเอียด ใบถอนเงินแล้วให้กับเจ้าหน้าที่ 4. ภายหลังเปิดธนาคารเสร็จสิ้น เจ้าหน้าที่ต้องทำการรวบรวมรายรับ รายจ่าย และทะเบียนคุมเจ้าหนี้ของธนาคารในแต่ละวัน เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ การลงค่าใช้จ่าย การซื้อ ขายขยะรีไซเคิลลงในสมุดเงินสด เพื่อสามารถตรวจสอบการขาดทุน กำไร 5. ควรมีการสรุปการดำเนินงาน ในแต่ละเดือน และแจ้งแก่สมาชิก ขั้นตอนที่ 5 การติดตามประเมินผล 1. พิจารณาจากปริมาณขยะรีไซเคิลที่รวบรวมได้ 2. จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม 3. กำไรจากการซื้อขาย

 

1.ประชาชนหมู่ที่ 3 บ้านดุหุน มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 2.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง
3.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ

 

กิจกรรมรับสมัครสมาชิกธนาคารขยะ 20 มิ.ย. 2567 20 มิ.ย. 2567

 

ขั้นตอนที่ 1 คณะทำงาน หน้าที่ของคณะทำงาน 1. ผู้จัดการธนาคาร รับผิดชอบดำเนินงาน ในภาพรวมของธนาคาร 2. เจ้าหน้าที่จดบันทึก รับผิดชอบการจดบันทึกรายละเอียด เกี่ยวกับสมาชิก ได้แก่ ชื่อ – นามสกุล เลขที่ ประเภท และปริมาณวัสดุรีไซเคิล เพื่อส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ 3. เจ้าหน้าที่คัดแยก รับผิดชอบการคัดแยกขยะ และชั่งน้ำหนักเพื่อจัดเก็บในสถานที่เก็บ 4. เจ้าหน้าที่คิดเงิน รับผิดชอบการเทียบราคาที่กำหนด และคิดจำนวนเงินของสินค้า ที่สมาชิกนำมาฝาก พร้อมทั้งรับผิดชอบการฝาก – ถอนเงินของสมาชิก 5. เจ้าหน้าที่บัญชี รับผิดชอบเอกสารต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เช่น สรุปยอดเงินฝากของสมาชิก สรุปยอดรายรับรายจ่ายของธนาคารขยะฯ และบันทึกรายละเอียด ยอดคงเหลือของสินค้า ตามประเภทปริมาณราคาโดยต้องทำการบันทึกทุกวันที่เปิดทำการ 6. เจ้าหน้าที่ควบคุมการเงิน รับผิดชอบควบคุมการเงินของธนาคารขยะ รายรับ รายจ่าย การเบิกเงินเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม การเบิกจ่ายเงินของสมาชิกธนาคารขยะ ให้สามารถตรวจสอบได้ 7. เจ้าหน้าที่ควบคุมการซื้อ-ขาย รับผิดชอบข้อมูลการซื้อ ขาย ราคาสินค้าในท้องตลาด การปรับเปลี่ยนราคา การนำสินค้าไปขายประสานร้านรับซื้อของเก่า ขั้นตอนที่ 2 คณะทำงานมีการประชุม
1. สำรวจร้านรับซื้อของเก่าที่มีอยู่ในชุมชน ราคา ประเภทของขยะรีไซเคิลที่รับซื้อ 2. ประสานงานร้านรับซื้อของเก่าให้เข้าร่วมโครงการธนาคารขยะฯ ราคาที่จูงใจ
3. กำหนดระยะเวลาที่จะเข้ามารับซื้อ 4. การวางแผนกำหนดวัน เวลา เปิด ธนาคารขยะ ขั้นตอนที่ 3 การจัดเตรียมสถานที่เก็บรวบรวม 1. ยึดหลักง่าย ๆโดยสามารถเก็บรวบรวมขยะได้
2. มีการคัดแยกขยะอย่างชัดเจน 3. มีการติดป้ายราคาของขยะที่รับซื้อ ขั้นตอนที่ 4 การประชาสัมพันธ์ 1. การเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในชุมชน
2. บันทึกลงในสมุดคู่ฝาก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานการฝากถอนของสมาชิก 3. ถ้าสมาชิกต้องการถอนเงิน ให้เขียนรายละเอียด ใบถอนเงินแล้วให้กับเจ้าหน้าที่ 4. ภายหลังเปิดธนาคารเสร็จสิ้น เจ้าหน้าที่ต้องทำการรวบรวมรายรับ รายจ่าย และทะเบียนคุมเจ้าหนี้ของธนาคารในแต่ละวัน เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ การลงค่าใช้จ่าย การซื้อ ขายขยะรีไซเคิลลงในสมุดเงินสด เพื่อสามารถตรวจสอบการขาดทุน กำไร 5. ควรมีการสรุปการดำเนินงาน ในแต่ละเดือน และแจ้งแก่สมาชิก ขั้นตอนที่ 5 การติดตามประเมินผล 1. พิจารณาจากปริมาณขยะรีไซเคิลที่รวบรวมได้ 2. จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม 3. กำไรจากการซื้อขาย

 

1.ประชาชนหมู่ที่ 3 บ้านดุหุน มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 2.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง
3.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ

 

กิจกรรมรับซื้อ – ขายขยะ 20 ส.ค. 2567 20 ส.ค. 2567

 

ขั้นตอนที่ 1 คณะทำงาน หน้าที่ของคณะทำงาน 1. ผู้จัดการธนาคาร รับผิดชอบดำเนินงาน ในภาพรวมของธนาคาร 2. เจ้าหน้าที่จดบันทึก รับผิดชอบการจดบันทึกรายละเอียด เกี่ยวกับสมาชิก ได้แก่ ชื่อ – นามสกุล เลขที่ ประเภท และปริมาณวัสดุรีไซเคิล เพื่อส่งต่อให้เจ้าหน้าที่ 3. เจ้าหน้าที่คัดแยก รับผิดชอบการคัดแยกขยะ และชั่งน้ำหนักเพื่อจัดเก็บในสถานที่เก็บ 4. เจ้าหน้าที่คิดเงิน รับผิดชอบการเทียบราคาที่กำหนด และคิดจำนวนเงินของสินค้า ที่สมาชิกนำมาฝาก พร้อมทั้งรับผิดชอบการฝาก – ถอนเงินของสมาชิก 5. เจ้าหน้าที่บัญชี รับผิดชอบเอกสารต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการเงิน เช่น สรุปยอดเงินฝากของสมาชิก สรุปยอดรายรับรายจ่ายของธนาคารขยะฯ และบันทึกรายละเอียด ยอดคงเหลือของสินค้า ตามประเภทปริมาณราคาโดยต้องทำการบันทึกทุกวันที่เปิดทำการ 6. เจ้าหน้าที่ควบคุมการเงิน รับผิดชอบควบคุมการเงินของธนาคารขยะ รายรับ รายจ่าย การเบิกเงินเพื่อนำไปใช้ในกิจกรรม การเบิกจ่ายเงินของสมาชิกธนาคารขยะ ให้สามารถตรวจสอบได้ 7. เจ้าหน้าที่ควบคุมการซื้อ-ขาย รับผิดชอบข้อมูลการซื้อ ขาย ราคาสินค้าในท้องตลาด การปรับเปลี่ยนราคา การนำสินค้าไปขายประสานร้านรับซื้อของเก่า ขั้นตอนที่ 2 คณะทำงานมีการประชุม
1. สำรวจร้านรับซื้อของเก่าที่มีอยู่ในชุมชน ราคา ประเภทของขยะรีไซเคิลที่รับซื้อ 2. ประสานงานร้านรับซื้อของเก่าให้เข้าร่วมโครงการธนาคารขยะฯ ราคาที่จูงใจ
3. กำหนดระยะเวลาที่จะเข้ามารับซื้อ 4. การวางแผนกำหนดวัน เวลา เปิด ธนาคารขยะ ขั้นตอนที่ 3 การจัดเตรียมสถานที่เก็บรวบรวม 1. ยึดหลักง่าย ๆโดยสามารถเก็บรวบรวมขยะได้
2. มีการคัดแยกขยะอย่างชัดเจน 3. มีการติดป้ายราคาของขยะที่รับซื้อ ขั้นตอนที่ 4 การประชาสัมพันธ์ 1. การเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเพื่อให้เกิดความร่วมมือกันในชุมชน
2. บันทึกลงในสมุดคู่ฝาก เพื่อเก็บเป็นหลักฐานการฝากถอนของสมาชิก 3. ถ้าสมาชิกต้องการถอนเงิน ให้เขียนรายละเอียด ใบถอนเงินแล้วให้กับเจ้าหน้าที่ 4. ภายหลังเปิดธนาคารเสร็จสิ้น เจ้าหน้าที่ต้องทำการรวบรวมรายรับ รายจ่าย และทะเบียนคุมเจ้าหนี้ของธนาคารในแต่ละวัน เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ การลงค่าใช้จ่าย การซื้อ ขายขยะรีไซเคิลลงในสมุดเงินสด เพื่อสามารถตรวจสอบการขาดทุน กำไร 5. ควรมีการสรุปการดำเนินงาน ในแต่ละเดือน และแจ้งแก่สมาชิก ขั้นตอนที่ 5 การติดตามประเมินผล 1. พิจารณาจากปริมาณขยะรีไซเคิลที่รวบรวมได้ 2. จำนวนสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม 3. กำไรจากการซื้อขาย

 

1.ประชาชนหมู่ที่ 3 บ้านดุหุน มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย 2.ปริมาณขยะมีจำนวนลดลง
3.ประชาชนมีรายได้จากการขายขยะ