กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างแกนนำส่งเสริมสุขภาวะเยาวชนเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ภายใต้ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวสู่ชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลคลองเฉลิม ประจำปี 2567

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะหญิงวัยเจริญพันธุ์ ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ มีทักษะชีวิตในการป้องกัน ตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม
ตัวชี้วัด : ๑ อัตราการตั้งครรภ์ของแม่อายุน้อยกว่า ๒๐ ปี น้อยกว่าร้อยละ ๑๐

 

2 2. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (โรคเอดส์)และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชนและผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ๒ น้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม น้อยกว่าร้อยละ ๗

 

3 3. เพื่อค้นหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆของหญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์ เช่น การตั้งครรภ์ของแม่อายุน้อยกว่า ๒๐ ปี , น้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม
ตัวชี้วัด : 3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาวะของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ร้อยละ 100

 

4 4. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาวะของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ศาสนาและการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะหญิงวัยเจริญพันธุ์ ทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ มีทักษะชีวิตในการป้องกัน ตัวเอง ทักษะการคิด การวิเคราะห์ ทักษะการต่อรอง ทักษะการปฏิเสธ และมีความมั่นใจในตัวเองในการป้องกันท้องไม่พร้อม (2) 2. เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับเพศศึกษา การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (โรคเอดส์)และการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรให้แก่เยาวชนและผู้ปกครอง (3) 3. เพื่อค้นหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาต่างๆของหญิงวัยเจริญพันธุ์ และหญิงตั้งครรภ์ เช่น การตั้งครรภ์ของแม่อายุน้อยกว่า ๒๐ ปี , น้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม (4) 4. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาแนวทางในการสร้างเสริมสุขภาวะของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่สอดคล้องกับบริบทของชุมชนทั้งด้านสังคม วัฒนธรรม ศาสนาและการประกอบอาชีพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2 ประชุมติดตามผลการดำเนินงานอนามัยเจริญพันธ์ และอนามัยแม่และเด็กแก่แกนนำครอบครัวประจำเขตพื้นที่ (2) 1 ประชุมวิชาการเกี่ยวกับงานอนามัยเจริญพันธ์ และอนามัยแม่และเด็กแก่แกนนำครอบครัวประจำเขตพื้นที่ (3) ๑. ประชุมกลุ่มแกนนำและคณะทำงานการดำเนินงานในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นอย่างต่อเนื่อง (4) 2. ค่าสมนาคุณวิทยากร 2 ชั่วโมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 600 บาท (5) จัดทำป้าย (6) ๑. สรุปผลการดำเนินงานข้อมูลตัวชี้วัดการตั้งครรภ์วัยรุ่น การคลอดก่อนกำหนด เดือนละ 1 ครั้ง 2. สรุปรายงานผลการดำเนินการโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh