กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี

ชื่อโครงการ โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L6895-02-34 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L6895-02-34 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,675.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ตลอดจนมีเป้าหมายให้ผู้เรียน เป็นคนเก่งและมีความสุข มุ่งเน้นให้ค้นพบความสามารถและความถนัด มาตรา 6 ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติได้เน้นให้การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้ง ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข สุขภาพที่ดีเป็นพื้นฐานของคุณภาพชีวิตในโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เป็นแนวทางใหม่ในการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องแก่เยาวชนรุ่นใหม่ และเป็นศูนย์กลางในการสร้างสุขภาพที่ดีแก่เยาวชนในชุมชน นักเรียนทุกคนจะต้องทราบนโยบายที่เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพของโรงเรียน การพัฒนาสุขภาพของโรงเรียนโดยส่งเสริมให้ทุกคนมาให้ความสำคัญ และรู้จักปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพตนเอง ตลอดทั้งสามารถควบคุมมูลเหตุ ปัจจัยและสภาพแวดล้อมก็มีผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่เป็นทางเลือกที่สำคัญของการใช้สถานศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการสร้างสุขภาพแก่เด็ก เพื่อช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพที่ดี
การตั้งครรภ์ของวัยรุ่น เป็นปัญหาที่ทุกประเทศทั่วโลกให้ความสำคัญ และตื่นตัวที่จะหามาตรการ และวิธีการป้องกันแก้ปัญหา ทั้งนี้เพราะเป็นปัญหาที่เชื่อมโยงกับคุณภาพชีวิตของประชากรทุกกลุ่มวัยตั้งแต่ แรกคลอด วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ รวมถึงวัยสูงอายุ เพราะวัยรุ่นเป็นวัยที่เป็นทุนทางประชากรที่สำคัญในการ พัฒนาประเทศชาติ การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นถือว่าเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในทุกด้าน ทั้งการดูแลตนเองและ ทารกในครรภ์ทำให้เกิดภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนทั้งต่อตัวแม่วัยรุ่นต่อทารกที่กำลังจะถือกำเนิดขึ้นมาได้มาก กว่าการตั้งครรภ์ในวัยผู้ใหญ่ กระบวนการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นในแต่ละครั้งจะลงเอยได้ 3 ทาง คือ คลอดมีชีพ ตายคลอดหรือแท้ง ยังมีปัญหาอื่นที่มาพร้อมกับการตั้งครรภ์ ได้แก่ ปัญหาด้านสุขภาพ เช่น โรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ โรคเอดส์ ภาวะแทรกซ้อนทั้งแม่และเด็กตั้งแต่การตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด ปัญหาด้านสังคม แม่วัยรุ่นเสียโอกาสทางการศึกษา เรียนหนังสือไม่จบต้องออกจากโรงเรียนมารับบทบาทหน้าที่ความเป็นแม่ทั้งๆ ที่ยังไม่พร้อม ขาดการเตรียมตัวและเกิดปัญหาการทอดทิ้งเด็กตามมา รวมทั้งการสร้างความอับอายให้กับ ครอบครัว นำไปสู่ปัญหาครอบครัว ปัญหาทางเศรษฐกิจ การแก้ไขปัญหาและการป้องกันการตั้งครรภ์ของวัยรุ่นต้องอาศัยกระบวนการจัดการอย่างเป็นระบบ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนตั้งแต่วัยรุ่น ครอบครัว ชุมชน โรงเรียน ท้องถิ่นและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน พื้นที่ร่วมกำหนดยุทธศาสตร์แนวทาง กิจกรรมการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้วัยรุ่นได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เพศศึกษารอบด้านเข้าถึงบริการสุขภาพที่เป็นมิตร รวมทั้งการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่ส่งเสริมให้ ครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการเลี้ยงดูลูกวัยรุ่น โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตและพฤติกรรม เชิงบวก พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือให้สอดคล้องปัญหาและความต้องการของวัยรุ่น ท้องถิ่นมีแผนการพัฒนา คุณภาพชีวิตวัยรุ่น สนับสนุนทรัพยากรและงบประมาณในการส่งเสริมกิจกรรมและพื้นที่สร้างสรรค์จัดสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการพัฒนาสุขภาพวัยรุ่นรวมทั้งการสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว ทางโรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษีร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพของเทศบาลเมืองกันตัง ได้ให้ความสำคัญในการเฝ้าระวังและตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567  ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียน
  2. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนลดลง
    2. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียน (2) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการวัยเรียน วัยใส รักอย่างไรไม่ให้เสี่ยง โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี ปี 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L6895-02-34

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงเรียนเทศบาลบ้านคลองภาษี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด