กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ดำเนินกิจกรรมอบรมให้ความรู้ 15 ส.ค. 2567 15 ส.ค. 2567

 

1.หมวดค่าตอบแทน

-ค่าตอบแทนวิทยากรบรรยายให้ความรู้(ภาคเอกชน จำนวน 1 ท่าน ชั่วโมงละ 1,000 บาท)

(2 ชั่วโมง 30 นาที*1 ท่าน)                              2,000 บาท

-ค่าตอบแทนวิทยากรสาธารณสุข (ภาครัฐ) จำนวน 2 ท่าน ชั่วโมงละ 600 บาท

(ท่านละ 2 ชัวโมง 30 นาที*1 ท่าน)                          1,500 บาท

 

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

-ร้อยละ 85 ตัวแทนประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเขาใจในการจัดการแยกขยะครัวเรือนที่ถูกต้องและมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ ถูกสุขลักษณะ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

-ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิิ้งและนำขยะมาใช้ประโยชน์

-ประชาชนมีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีพฤติกรรมที่รักความสะอาดที่เพิ่มขึ้น

-ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่

 

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 15 ส.ค. 2567 15 ส.ค. 2567

 

2.หมวดค่าใช้สอย

-ค่าอาหารผู้เข้าร่วมโครงการ 80 คน (มื้อละ 60 บาท/มื้อ*1 มื้อ)  4,800 บาท

-ค่าอาหารว่างผู้เข้าร่วมอบรม 80 คน (มื้อละ 30 บาท/มื้อ*2 มื้อ) 4,800 บาท

-ค่าป้ายไวนิล ขนาดกว้าง 1.2 มตร*ความยาว 2.4เมตร  720 บาท

-ค่าจัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ โฟมบอร์ดติดตั้งในชุมชน

จำนวน 6 ผืน (ผืนละ 450 บาท)    2,700 บาท

 

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

-ร้อยละ 85 ตัวแทนประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเขาใจในการจัดการแยกขยะครัวเรือนที่ถูกต้องและมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ ถูกสุขลักษณะ

ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

-ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิิ้งและนำขยะมาใช้ประโยชน์

-ประชาชนมีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีพฤติกรรมที่รักความสะอาดที่เพิ่มขึ้น

-ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่

 

สรุปผล ประเมินผล รายงานผล 15 ส.ค. 2567 15 ส.ค. 2567

 

3.หมวดค่าวัสดุอุปกรณ์

-ค่ากระป๋า แฟ้ม ปากกา วัสดุ อุปกรณ์ในการอบรม (ชุดละ 60 บาท*80 คน) 4,800 บาท

 

ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ

-ร้อยละ 85 ตัวแทนประชาชนในพื้นที่ มีความรู้ ความเขาใจในการจัดการแยกขยะครัวเรือนที่ถูกต้องและมีสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ ถูกสุขลักษณะ ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ

-ประชาชนมีความรู้ มีความตระหนักในการคัดแยกขยะก่อนทิิ้งและนำขยะมาใช้ประโยชน์

-ประชาชนมีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม และมีพฤติกรรมที่รักความสะอาดที่เพิ่มขึ้น

-ชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่น่าอยู่