กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก ”




หัวหน้าโครงการ
อานัน สีระโก




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8302-4-1 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L8302-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 133,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.หลักการและเหตุผล กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของ  ประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง
สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ    พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสานและกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและ    ความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจึงได้มีการประชุมระดมความคิดเห็นจากหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและผู้ที่เกี่ยวข้อง  เพื่อยกร่างหลักเกณฑ์การสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลและเทศบาลดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ซึ่งเทศบาลตำบลมะรือโบตกได้เข้าร่วมทำบันทึกข้อตกลงกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2553 และได้ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตกมาแล้วเป็นเวลา 15 ปี กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก จึงได้จัดทำ “โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก ประจำปี 2568” ขึ้น เพื่อเป็นการพัฒนากองทุนให้ดำเนินงานไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าตอบแทนและค่าอาหารว่างคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน บุคคลภภายนอก ธค
  2. ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหาร
  3. วัสดุสำนักงาน คอมพิวเตอร
  4. กิจกรรมค่าเดินทางไปประชุม,อบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ,การจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  5. กิจกรรมการจัดทำแผนงานสุขภาพชุมชนปี 2569 /การพัฒนาศักยภาพ/การเขียนโครงการ /นำเสนอโครงการ
  6. เดินทางไปรับโล่ กองทุนดีเด่น 2567
  7. ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการ LTC คณะทำงาน และค่ารับรองอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม LTC
  8. ประชุมคณะอนุกรรมการ ltc
  9. จ้างทำไวนิล กองทุน ได้รับรางวัล
  10. วัสดุฯคอม
  11. วัสดุฯ สำนักงาน
  12. ประชุมคณะกรรมการ ค่าอาหาร
  13. ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหาร
  14. ค่าเดินทางฯ
  15. ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหาร
  16. วัสดุฯ
  17. กิจกรรมการจัดทำแผนงานสุขภาพชุมชนปี 2569 /การพัฒนาศักยภาพ/การเขียนโครงการ /นำเสนอโครงการ
  18. ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหาร LTC

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 80

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ -การปฏิบัติงานของกองทุนเป็นไปด้วยความคล่องตัว
-มีวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงานเพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
-กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตกและคณะกรรมการกองทุนมีการพัฒนาและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เดินทางไปรับโล่ กองทุนดีเด่น 2567

วันที่ 16 ตุลาคม 2567 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เดินทางไปราชการ อ.หาดใหญ จ.สงขลา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รับโล่รางวัลกองทุนดีเด่น ระดับ แพลตินัม

 

5 0

2. ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการ LTC คณะทำงาน และค่ารับรองอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม LTC

วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม อนุLTC

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อนุมัติ เคส 13 ราย เพื่อขอสนับสนุนงบประมาณในการดูแล

 

13 0

3. ค่าตอบแทนและค่าอาหารว่างคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน บุคคลภภายนอก ธค

วันที่ 9 ธันวาคม 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

วันที่ 12 และ 18 ธันวาคม

กลั่นกรองโครงการ ติดตามโครงการ 2567

 

10 0

4. ประชุมคณะอนุกรรมการ ltc

วันที่ 25 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม คณะอนุกรรมการ LTC

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการอนุมัติแคร์แพลน

 

10 0

5. จ้างทำไวนิล กองทุน ได้รับรางวัล

วันที่ 2 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำป้ายไวนิล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้ายไวนิลรับรางวัลกองทุนฯ

 

0 0

6. วัสดุฯคอม

วันที่ 2 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อหมึกพิมพ์ 16 ม.ค. 68

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หมึกพิมพ์

 

0 0

7. วัสดุฯ สำนักงาน

วันที่ 2 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุสำนักงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กระดาษ A4

 

0 0

8. ประชุมคณะกรรมการ ค่าอาหาร

วันที่ 16 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมพิจารณาอนุมัติโครงการ 16 มค. 68

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการอนุมัติโครงการ 8 โครงการ

 

21 0

9. ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหาร

วันที่ 27 มกราคม 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมอนุ 27 มค. ประชุม กก 11 ก.พ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการกลั่นกรองโครงการ มีการอนุมัติโครงการ

 

29 0

10. ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ ค่าอาหาร LTC

วันที่ 24 มีนาคม 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุม อนุมัติโครงการ LTC และ CP

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุม อนุมัติโครงการ LTC และ CP

 

13 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 %
9.00 5.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
23.00 30.00

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
15.00 19.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 80

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่ดีและมีรายงานผลการดำเนินงานดี (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าตอบแทนและค่าอาหารว่างคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน บุคคลภภายนอก  ธค (2) ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ  ค่าอาหาร (3) วัสดุสำนักงาน คอมพิวเตอร (4) กิจกรรมค่าเดินทางไปประชุม,อบรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การบริหารจัดการกองทุนฯ,การจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (5) กิจกรรมการจัดทำแผนงานสุขภาพชุมชนปี 2569 /การพัฒนาศักยภาพ/การเขียนโครงการ /นำเสนอโครงการ (6) เดินทางไปรับโล่ กองทุนดีเด่น 2567 (7) ค่าตอบแทนประชุมคณะอนุกรรมการ LTC คณะทำงาน และค่ารับรองอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม LTC (8) ประชุมคณะอนุกรรมการ ltc (9) จ้างทำไวนิล กองทุน ได้รับรางวัล (10) วัสดุฯคอม (11) วัสดุฯ สำนักงาน (12) ประชุมคณะกรรมการ  ค่าอาหาร (13) ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ  ค่าอาหาร (14) ค่าเดินทางฯ (15) ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ  ค่าอาหาร (16) วัสดุฯ (17) กิจกรรมการจัดทำแผนงานสุขภาพชุมชนปี 2569 /การพัฒนาศักยภาพ/การเขียนโครงการ /นำเสนอโครงการ (18) ประชุมคณะกรรมการ อนุกรรมการ  ค่าอาหาร LTC

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลมะรือโบตก จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8302-4-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( อานัน สีระโก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด