กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี โดยธรรมชาติของโรคไข้เลือดออกจะมีการระบาดปีเว้นปีหรือระบาดเว้น2ปี สถานการณ์ระบาดของโรคไข้เลือดออกอาจมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นได้ในทุกพื้นที่ ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี จากสถิติของฝ่ายควบคุมโรคติดต่อกระทรวงสาธารณสุข ณ 31 ธันวาคม 2560 พบว่ามีผู้ป่วยโรคติดต่อไข้เลือดออกทั้งหมด 51,583 คิดเป็นอัตราป่วย 78.84 ต่อแสนประชากร มีผู้ป่วยเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกจำนวน 60 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.12 ต่อแสนประชากร การกระจายการเกิดโรคไข้เลือดออกรายภาค พบว่าภาคใต้มีอัตราป่วยสูงเป็นอันดับที่ 1 ของประเทศ เท่ากับ 12,464 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 134.75 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน 26 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.21 และจังหวัดสงขลาพบผู้ป่วยด้วยไข้เลือดออกสูงสุดของภาคใต้ จำนวน 2,988 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 212.53 ต่อประชากรแสนคน มีผู้ป่วยเสียชีวิตจำนวน 5 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายร้อยละ 0.17 ในส่วนของอำเภอระโนดพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 75 คน คิดเป็นอัตราป่วยร้อยละ 126.16 ต่อประชากรแสนคน ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต และตำบลท่าบอน, ตำบลบ้านขาว, ตำบลระโนด, ตำบลระวะ, ตำบลบ้านใหม่, ตำบลวัดสน, ตำบลแดนสงวน, อัตราป่วยเท่ากับ 191.5 , 172.71 , 170.11 , 134.32 , 125.5 , 109.34 , 89.68 , 63.32, 46.26 , 40.31 , 36.46 , ต่อแสนประชากร ตามลำดับ อาชีพที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือนักเรียน จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 30 ราย กลุ่มอายุที่พบสูงสุดคือกลุ่มอายุ 25 - 34 ปี จำนวนผู้ป่วยเท่ากับ 17 ราย
จากสถิติของฝ่ายควบคุมโรคติดต่อคลินิกใกล้ใจ โรงพยาบาลระโนด พบว่า ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา เป็นตำบลหนึ่งที่พบผู้ป่วยทุกปี จากข้อมูลการเจ็บป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ พบว่า ตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออกทั้งหมด 11 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 130.56 ต่อประชากรแสนคน ซึ้งสูงกว่าค่า Median ย้อนหลัง 5 ปี ไม่มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต หมู่บ้านที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุดคือหมู่ที่ 3 บ้านท่าบอน 3 ราย รองลงมาคือ หมู่ที่ 7 บ้านขี้นาก จำนวน 2 ราย , หมู่ที่ 4 บ้านศาลาหลวงบน จำนวน 2 ราย , หมู่ที่ 10 บ้านมาบปรือ จำนวน 2 ราย , หมู่ 2 บ้านอู่ตะเภา จำนวน 1 ราย และ หมู่ที่ 1 บ้านรับแพรก จำนวน 1 ราย ตามลำดับ ในส่วนของ หมู่ที่ 5 บ้านหัวคุ้ง , หมู่ที่ 8 บ้านคลองเป็ด , หมู่ที่ 6 บ้านศาลาหลวงล่าง และ หมู่ที่ 9 บ้านมาบบัว ยังไม่พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และจาการสำรวจลูกน้ำยุงลายในพื้นที่เดือนตั้งแต่เดือน มกราคม – ธันวาคม 2560 หมู่ที่ 1 และ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าบอน จำนวน 500 หลังคาเรือน ยังพบมีค่าดัชนีความชุกของลูกน้ำยุง HI = 10.16 , CI = 0

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ