กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการสิงหนคร (รัตน์ ประธานราษฎนิกร) จัดทำโครงการป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอร์ ในวันที่ 24 มกราคม 2561 เวลา 14.30-17.00 น. ณ ห้องประชุมม่วงงาม ชั้น 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีและการจัดการสิงหนคร (รัตน์ ประธานราษฎนิกร)  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม นักเรียน นักศึกษา จำนวน  211 คน  ครูจำนวน 17 คน กิจกรรมบรรยายโดยวิทยากรจากองร้อยตำรวจตระเวนชายแดนที่ 433 ดาบตำรวจเอนก อาจวิชัย หัวข้อ แนวทางการป้องกันและลดปัญหาด้านยาเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอฮอร์  ผลจากการประเมินโครงการด้วยการสอบถามความพึงพอใจ ดังนี้ -ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามตามเพศ : เพศหญิงร้อยละ 57 และเพศชายร้อยละ 43 -ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามตามสถานะภาพ : นักเรียน นักศึกษาร้อยละ 90 และครู อาจารย์ร้อยละ 10 -ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามตามระดับชั้น : ปวช.1 ร้อยละ 32 , ปวช.2 ร้อยละ 21 , ปวช.3 ร้อยละ 17 , ปวส.1 ร้อยละ 12 , ปวส.2 ร้อยละ 8 , ครู อาจารย์ ร้อยละ 10 -ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามตามสาขาวิชาฯ : แผนกวิชาการบัญชี ร้อยละ 20 , แผนกช่างยนต์ ร้อยละ 20 , แผนกช่างไฟฟ้ากำลัง ร้อยละ 20 , แผนกการขายและการตลาด ร้อยละ 16 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ร้อยละ 14 , ครู อาจารย์ ร้อยละ 10

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างกระแสปลุกจิตสำนึกนักเรียน นักศึกษา ในการป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอออร์
ตัวชี้วัด : เชิงปริมาณ : นักเรียน นักศึกษา เข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ : นักเรียน นักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม มีจิตสำนึกในการป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอออร์
215.00

นักศึกษาให้ความสนใจ และเข้าร่วม ร้อยละ 81.74

2 เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน นักศึกษา เกิดความตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอออร์
ตัวชี้วัด : นักเรียน นักศึกษา เกิดความตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอออร์
215.00

นักศึกษาที่เข้าเข้าร่วม ได้รับความรู้และเกิดความตระหนัก ถึงโทษของสารเสพติด/ยาสูบ/แอลกอฮอร์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 263
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 263
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างกระแสปลุกจิตสำนึกนักเรียน นักศึกษา ในการป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอออร์ (2) เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน นักศึกษา เกิดความตระหนักและเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและลดปัญหาด้านสารเสพติด/ยาสูบ/เครื่องดื่มแอลกอออร์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh