กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทราบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุค ปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศและปัญหาจากสื่อโซเชียล

 

2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความเครียดทุเลาลงหลังการเข้าร่วมโครงการฯ (จากการทำแบบประเมินความเครียด ST-5 ของกรมสุขภาพจิต) ระดับความเครียดอยู่ระหว่าง 0-4

 

3 เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา
ตัวชี้วัด : มีแกนนำเครือข่าย "คลินิกเพื่อนกัน เพื่อนใจวัยรุ่น" เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เครือข่าย

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น และทรบถึงปัญหาของวัยรุ่นในยุคปัจจุบัน เช่น ปัญหาความเครียดจากการเรียน, ปัญหาการใช้สารเสพติด, ปัญหาการมีพฤติกรรมรุนแรง, ปัญหาคบเพื่อนต่างเพศ และปัญหาจากสื่อโซเชียล (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตและลดความเครียดให้กับนักเรียนและกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพจิตในระดับประถม และมัธยมศึกษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมละลายพฤติกรรม (นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย จำนวน 70 คน) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย จิตใจ ในวัยรุ่น สถานการณ์ความเครียดและปัญหาซึมเศร้าในวัยรุ่น สาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า (3) กิจกรรมที่ 3 อบรมเชิงปฏบัติการเพื่อะพัฒนาวัยรุ่นด้านการเสริมสร้างสุขภาพกายและจิตในวัยรุ่น กิจกรรมกลุ่ม (Role Play) (4) กิจกรรมที่ 4 ซักถามปัญหา สรุปกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh