กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร


“ โครงการมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส ”

ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายยาห์ยา อะยูยา

ชื่อโครงการ โครงการมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2477-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2477-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันปัญหาสุขภาพที่เร่งด่วนของประชากรที่ต้องได้รับการแก้ไขนอกจากโรคติดต่อแล้วกลุ่มโรคไม่ติดต่อก้เป้นสาเหตุสำคัญของการตายและพิการ ทำให้คุณภาพชีวิตของประชาชนลดลง และก่อให้เกิดการสูญเสียทรัพยากรเป็นจำนวนมากในแต่ละปี ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคเส้นเลือดในสมอง โรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพาต อัมพฤกษ์ โรคมะเร็ง เป็นต้น การค้นหาและการตรวจสุขภาพของประชากรตามกลุ่มอายุตั้งแต่วัยเด็กถึงวัยสูงอายุเป็นภารกิจในการดำเนินงานสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มุ่งเน้นให้ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี สามารถพึงพาตนเองทางด้านสุขภาพมากขึ้น โดยเน้นการสร้างสุขภาพมากกว่า การซ่อมสุขภาพ โดยถือว่าสุขภาพเป็นเรื่องของประชาชนทุกคนสำหรับการตรวจสุขภาพในกลุ่มอายุต่างๆ ได้แก่ วัยทำงาน วัยทองและวัยผู้สูงอายุ เป็นที่ีมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคที่เกิดพฤติกรรมเป็นส่วนใหญ่ อาทิ เช่น พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการทำงาน พฤติกรรมการสูบบุหรี่ การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ รวมถึงภาวะเครียด ทั้งนี้จากการสำรวจและคาดการณ์ประมาณผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานพบว่าประชาชนยังขาดความตระหนักในการดูแลรักษาโรคมากกว่าร้อยละ 50 เพราะคิดว่าสุขภาพร่างกายแข็งแรงไม่มีอาการโรค และผลการดำเนินงานที่ผ่านที่ผ่านมาพบว่า การตรวจค้นหาคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังต่างๆ ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตรยังไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร ของประชากรอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตเจาะเลือดเบาหวาน โรคอัมพฤกษ์ อัมพาตทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร ได้ตระหนักเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ดำเนินการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้องเหมาะสม และเพื่อให้ดำเนินงานคัดกรองโรคความดัน เบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง บรรลุเป้าหมาย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร เป็นหน่วยงานที่ทำหน้าที่โดยนำนโยบายด้านสาธารณสุขลงสู่การปฏิบัติแก่ประชาชนในเขตความรับผิดชอบให้เห้นความสำคัญของการดำเนินงาน คัดกรองและตรวจสุขภาพประชาชนในกลุ่ม วัยทำงาน วัยทองและวัยผู้สูงอายุ (35 ปีขึ้นไป) จึงได้ทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลผดุงมาตร เพื่อนำผลการประเมินมาทำการพัฒนาการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพให้กับประชาชน เป็นการลดภาวะโรคที่เกิดขึ้นในระยะยาวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและส่งต่อให้แพทย์วินิจฉัยรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. 2.เพื่อให้ผุ้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง
  2. อบรม อสม. ในการตรวจคัดกรองความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 850
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้โดยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพหรือวิถีชีวิตที่ก่อหรือเสริมการเป็นโรคได้ถูกต้องเหมาะสม 2.อัตราการป่วยตายด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพาต อัมพฤกษ์ ลดลงอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง 3.ลดปัญหาการสูญเสียทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ที่ก่อให้เกิดการรักษาพยาบาลโดยตรงและค่าใช้จ่ายทางอ้อมที่ผู้ป่วยต้องหยุดงาน หรือขีดความสามารถลดลงหรือความพิการหรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร 4.เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่างที่สุขภาพ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่และประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 5.ประชาชนมีสุขภาพดีไม่ป่วยและตายด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรม อสม. ในการตรวจคัดกรองความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะ

วันที่ 13 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรม อสม. เพื่อให้มีทักษะในการตรวจวัดความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะ การวัดส่วนสูง ชั่งน้ำหนัก คำนวนณดัชนีมวลกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • อสม. มีทักษะในการตรวจวัดความดันโลหิตสูง ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะมากขึ้น
  • อสม. สามารถตรวจคัดกรองโรควัดความดันโลหิตสูง ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะให้แก่ประชาชนในพื้นที่ที่ตนเองได้รับผิดชอบได้

 

0 0

2. กิจกรรมคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 13 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • อสม.นัดประกรกลุ่มเป้าหมาย อายุ 35 ปี ขึ้นไป ที่มีภาวะเสี่ยงตามละแวกที่รับผิดชอบเป็นจุดในแต่ละหมุ่ เพื่อรับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน/อัมพาต อัมพฤกษ์
  • จัดมหกรรมสุขภาพโดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้ประชากรอายุ 35 ปีที่มีภาวะเสี่ยงในเขตรับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
  • ประชาชนมีตระหนักและใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น

 

850 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • สรุปผลการจัดมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตรประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไปที่มีภาวะเสี่ยง ทั้งหมด ๘๕๐ คน เข้าร่วม มหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน ๘๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สามารถแยกตามกลุ่มต่างๆได้ดังนี้ พบกลุ่มปกติ จำนวน ๔๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๐๕ กลุ่มเสี่ยงจำนวน ๓๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๑๗ และกลุ่มสงสัยป่วยจำนวน๔๙ คน คิดเป็นร้อย ๕.๗๕ กลุ่มที่ต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคือกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน ๓๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๙๔  จะเห็นได้ว่าประชาชนจำนวนมากที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคทางหลอดเลือดสมองอื่นๆเพื่อให้มีสุขภาพดีสามารถดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนต่อไป
  • งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๔๗,๐๒๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๔๗,๐๒๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
  • ในการดำเนินกิจกรรมครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและส่งต่อให้แพทย์วินิจฉัยรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 60

 

2 2.เพื่อให้ผุ้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 850
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 850
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและส่งต่อให้แพทย์วินิจฉัยรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้ผุ้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (2) อบรม อสม. ในการตรวจคัดกรองความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2477-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายยาห์ยา อะยูยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด