กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • สรุปผลการจัดมหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงตำบลผดุงมาตรประชาชนอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไปที่มีภาวะเสี่ยง ทั้งหมด ๘๕๐ คน เข้าร่วม มหกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม จำนวน ๘๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สามารถแยกตามกลุ่มต่างๆได้ดังนี้ พบกลุ่มปกติ จำนวน ๔๘๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๐๕ กลุ่มเสี่ยงจำนวน ๓๑๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๑๗ และกลุ่มสงสัยป่วยจำนวน๔๙ คน คิดเป็นร้อย ๕.๗๕ กลุ่มที่ต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคือกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มสงสัยป่วย จำนวน ๓๖๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๙๔  จะเห็นได้ว่าประชาชนจำนวนมากที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคทางหลอดเลือดสมองอื่นๆเพื่อให้มีสุขภาพดีสามารถดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชนต่อไป
  • งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ๔๗,๐๒๐ บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ๔๗,๐๒๐ บาท คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
  • ในการดำเนินกิจกรรมครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและส่งต่อให้แพทย์วินิจฉัยรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพร้อยละ 60

 

2 2.เพื่อให้ผุ้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 2.ผู้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมบ้าน ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 850
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 850
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและส่งต่อให้แพทย์วินิจฉัยรับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้องเหมาะสม (2) 2.เพื่อให้ผุ้ป่วยได้รับการติดตามเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง (2) อบรม อสม. ในการตรวจคัดกรองความดันโลหิต ตรวจน้ำตาลในปัสสาวะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh