กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริการกองทุฯ และองค์กรที่รับทุน (2) 2.เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให่แก่โครงการแก่ผู้รับทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. จัดปจัดประชุมคณะกรรมการกองทุน ครั้งที่ 1- ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานกองทุนปี 2568 ทบทวน/ฟื้นฟูบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ ตามประกาศระเบียบกองทุน ปี 2561- อนุมัติรับรองแผนการเงินประจำปี ประกาศใช้แผนสุขภาพกองทุนฯ และให้ความเห็นชอบรายงานสถานะการเงิน (2) 2.จัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และกำกับติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 1- พิจารณาโครงการ/กิจกรรม(ถ้ามี)โดยให้ผู้ขอรับงบหรือผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการฯ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด (3) 1.จัดประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ คณะอนุกรรมการ และคณะอนุกรรมการ LTC และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการดำเนินงานและบริหารของกองทุนฯ (4) 3.จัดประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง ครั้งที่ 1  เพื่อ    - ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานปี 2568 สร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ - พิจารณาอนุมัติโครงการ แผนการดูแลรายบุคคล(care plan) (5) 4.จัดซื้อวัสดุ และครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานที่จำเป็นสำหรับปฏิบัติงานกองทุน (6) 5. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2 - พิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการ/กิจกรรม(ผลสรุปการกลั่นกรองแต่ละโครงการ/กิจกรรมโดยคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการกองทุน (7) 6.จัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และกำกับติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 2 เพื่อ - พิจารณาโครงการ/กิจกรรม(ถ้ามี)โดยให้ผู้ขอรับงบหรือผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการฯ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด (8) 7. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 3 - พิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการ/กิจกรรม(ผลสรุปการกลั่นกรองแต่ละโครงการ/กิจกรรมโดยคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการมอบหมาย) ที่มีผู้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนระหว่างปี - อนุมัติการใช้งบประมาณที่สอดคล้องกับแผนสุขภาพ (9) 8.จัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และกำกับติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 3 เพื่อ - พิจารณาโครงการ/กิจกรรม(ถ้ามี)โดยให้ผู้ขอรับงบหรือผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการฯ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด (10) 9.จัดประชุมคณะอนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงครั้งที่ 2 เพื่อ- กำกับ ติดตาม ประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน การบริการสาธารณสุขเบื้องต้น การดูแลสุขภาพขั้นพื้นฐาน การจัดการสภาพแวดล้อม (11) 10.จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 4-พิจารณาอนุมัติแผนงานโครงการ/กิจกรรม(ผลสรุปการกลั่นกรองแต่ละโครงการ/กิจกรรมโดยคณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการกองทุนมอบหมาย)และประชุมจัดทำแผนสุขภาพตำบล และแผนการเงิน รับ-จ่าย- จัดทำแผนสุขภาพชุมชน ปี 2569 (12) 11.จัดประชุมคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการ และกำกับติดตามประเมินผลโครงการ ครั้งที่ 4 เพื่อ - พิจารณาโครงการ/กิจกรรม(ถ้ามี)โดยให้ผู้ขอรับงบหรือผู้รับผิดชอบโครงการนำเสนอต่อคณะอนุกรรมการกลั่นกรองโครงการฯ ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

 

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ