กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง


“ โครงการลำดวนบานสานพลัง ”

ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายวิรัชเอ็มเอ็ม

ชื่อโครงการ โครงการลำดวนบานสานพลัง

ที่อยู่ ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1489-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลำดวนบานสานพลัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลำดวนบานสานพลัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลำดวนบานสานพลัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1489-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพดี ร่างกายแข็งแรงเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนา การดูแลส่งเสริมสุขภาพจะต้องดูแลและส่งเสริมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต การออกกำลังกายเป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถทำให้สุขภาพกายและสุขภาพจิตของคนเราแข็งแรง ในวัยผู้สูงอายุมีแนวโน้มการเกิดความถดถอยของสมรรถภาพทางกายง่ายกว่าในวัยอื่นๆทั้งนี้เนื่องจากสภาพร่างกายทรุดโทรมไปตามวัยหลายคนเข้าใจว่าผู้สูงอายุไม่สามารถออกกำลังกายได้ แต่ความเป็นจริงแล้วผู้สูงอายุสามารถออกกำลังกายตามปกติได้แต่ควรเลือกชนิดของการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเอง การออกกำลังกายให้ถูกวิธีและควรทราบเกี่ยวกับข้อควรระมัดระวังในการออกกำลังกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัวต่างๆเพื่อที่จะทำให้ผู้สูงอายุเหล่านั้นสามารถออกกำลังกายได้อย่างปลอดภัยและได้ประโยชน์สูงสุด อีกทั้ง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ และความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่สูงขึ้น ส่งผลให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ปรับตัวไม่ทันต่อสถานการณ์ต่างๆ ก่อให้เกิดภาวะความเครียด ขาดการพักผ่อนหน่อยใจ ขาดความสนใจในการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม และการบริโภคอาหารที่พอเหมาะพอควรเพื่อให้มีภาวะโภชนาการดี ลดการเจ็บป่วยของโรคต่างๆความพิการซึ่งอาจเกิดขึ้นได้จากสาเหตุของโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หลอดเลือดสมองอุดตันเป็นต้น
ดังนั้น ผู้สูงอายุจึงควรมีความรู้ในเรื่องของการเลือกกิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับตนเองรวมไปถึงวิธีการออกกำลังกายที่ถูกต้อง เพื่อจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงขึ้น พัฒนาให้กล้ามเนื้อหัวใจในการสูบฉีดแข็งแรงมีความเหน็ดเหนื่อยน้อยลงเวลาทำกิจกรรมต่างๆ เพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ รวมถึงข้อต่อต่างๆ ของร่างกายเคลื่อนไหวได้มุมที่กว้างขึ้น และสามารถลดอาการปวดเมื่อยจากการทำงานหรือกิจวัตรประจำวันให้น้อยลง ส่งผลให้ผู้อายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถอยู่ร่วมในสังคมได้อย่างมีความสุข มีศักยภาพในการปฏิบัติงานที่เหมาะสมกับวัยไม่เป็นภาระต่อครอบครัว สามารถทำคุณประโยชน์ให้แก่สังคมและมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต
งานพัฒนาชุมชนสำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลควนปริงตระหนักและเห็นความสำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุจึงได้กำหนดจัดทำโครงการลำดวนบานสานพลังขึ้นเพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายยืดเหยียดกล้ามเนื้อ ผ่อนคลายความตึงเครียด ส่งเสริมสุขภาพจิตลดภาวะความซึมเศร้าและเปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุได้พบปะทำกิจกรรมร่วมกันอันจะส่งผลต่อสุขภาพจิตดีและสุขภาพกายที่แข็งแรงและสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าในสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
  2. 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพตนเองด้วยวิถีไทยและสมุนไพรท้องถิ่น
  3. 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัยผู้สูงอายุและทำกิจกรรมร่วมกันเป็นการใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์และสร้างคุณค่าให้แก่ตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    7.1 ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมด้านกาย จิต และสังคม
    7.2 ผู้สูงอายุได้เรียนรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองด้วยวิถีไทยและสมุนไพรท้องถิ่น 7.3 ผู้สูงอายุเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัยผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพและผู้สูงอายุเห็นคุณค่าของตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม
    ตัวชี้วัด : 1 กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

     

    2 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพตนเองด้วยวิถีไทยและสมุนไพรท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด : 2 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อโครงการไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

     

    3 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัยผู้สูงอายุและทำกิจกรรมร่วมกันเป็นการใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์และสร้างคุณค่าให้แก่ตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม (2) 2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุดูแลสุขภาพตนเองด้วยวิถีไทยและสมุนไพรท้องถิ่น (3) 3 เพื่อให้ผู้สูงอายุเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงเข้าสู่วัยผู้สูงอายุและทำกิจกรรมร่วมกันเป็นการใช้เวลา ว่างให้เป็นประโยชน์และสร้างคุณค่าให้แก่ตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลำดวนบานสานพลัง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1489-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายวิรัชเอ็มเอ็ม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด