กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559 ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายนูรอาบีดีนจารง




ชื่อโครงการ โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559

ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 59-L4127-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤษภาคม 2559 ถึง 7 พฤษภาคม 2559

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 59-L4127-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤษภาคม 2559 - 7 พฤษภาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกถือได้ว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งความรุนแรงของโรคสามารถทำให้่ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ แม้จะมีการรณรงค์ให้มีการป้องกัน ควบคุมไม่ให้มีการเผยแพร่ระบาดของโรคทั้งภาครัฐและเอกชนอยู่เป็นประจำ แต่ก็ไม่สามารถทเำให้โรคนี้หมดไปจากสังคมไทยของเราได้เลย การแพร่กระจายของเชื้อโรคต่างๆ มากมาย ตามสถานการณ์ในปัจจุบัน มียุง และพาหะนำเชื้อโรคที่รุนแรงต่อสุขภาพของประชาชน โดยภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ถือเป็นแหล่งก่อให้เกิดการเจ็บป่วยที่ร้ายแรง จึงได้จัดทำโครงการพ่นหมอกควันป้งกันภัยที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกและโรคอื่นๆ ในช่วงฤดูกาลระบาด โคยความร่วมมือนจากภาคประชาชนได้แก่ ผู้นำชุมชน เพื่อให้การควบคุมป้องกันโรคดังกล่าว เเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้
  2. 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญไม่ให้เพาะพันธ์ยุงลาย
  3. 3. เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน
  4. 4. เพื่อกำจัดยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,517
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สามารถป้องกันการเกิดและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้
    2. ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
    3. เกิดการมีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชนได้ทุกภาคส่วน
    4. สามารถกำจัดลูกน้ำยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สรุปผลการประเมินโครงการ/กิจกรรม โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559
    1. ด้านการให้บริการของเจ้าหน้าที่   1. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ ความสุภาพ อ่อนน้อม ยิ้มแย้มแจ่มใส วาจาสุภาพ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 115 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 117 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 121 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 9 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด   2. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ ความสนใจเอาใจใส่เต็มใจช่วยเหลือ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 124 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 137 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 91 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 84 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 32 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด   3. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ การตอบข้อสงสัยแก่ท่านและญาติด้วยความเต็มใจ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 94 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด  ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 136 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 118 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 120 หลัง  มีระดับความพึงพอใจ น้อย ผู้เข้าร่วมกิจกรรม – คน มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด   4. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ การได้รับความช่วยเหลือทันทีเมื่อต้องการ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 129 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 121 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 115 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 92 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 11 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด
      5. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ การให้ข้อมูล คำแนะนำในการปฏิบัติตัวเพื่อให้สามารถดูแลตนเองได้ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 124 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 136 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 104 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 57 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 40 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด   6. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ ความรู้ความสามารถในการให้บริการ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 130 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 72 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 119 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 98 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 49 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด   7. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ การให้เกียรติต่อท่านและความเสมอภาคในการให้บริการ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 127 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 124 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 74 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 112 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 31 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด

    1. การให้บริการทั่วไป
        1. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ ความรวดเร็วและความพร้อมในการให้บริการ มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 136  หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 138 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 112 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 47 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 35 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด   2. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ ประโยชน์ที่ท่านได้รับ คุ้มค่ากับเวลาที่เสียไปในการร่วมกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 114 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 128 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 119  หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 94  หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 13 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด   3. จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 468 หลัง ความพึงพอใจ แรงจูงใจในการดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น ภายหลังจากการทำกิจกรรม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 124 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 126 หลัง มีระดับความพึงพอใจ มาก มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 102 หลัง มีระดับความพึงพอใจ ปานกลาง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 81 หลัง มีระดับความพึงพอใจ น้อย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 35 หลง มีระดับความพึงพอใจ น้อยที่สุด

    ข้อเสนอแนะอื่นๆ

    ๑. ขอความร่วมมือให้ อสม. ทุกชุมชนได้เข้าสำรวจตามบ้านเรือนในเขตรับผิดชอบอย่างต่อเนื่องทุก ๑๕ วัน รวมทั้ง พบปะกับเจ้าของบ้านเพื่อขอความร่วมมือป้องกันโรคไข้เลือดออกร่วมกับชุมชน<br />
    ๒. จัดหน่วยรถประชาสัมพันธ์ในชุมชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนได้ช่วยกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย พร้อม แจ้งสถานการณ์โรคเพื่อให้เกิดความตระหนักและร่วมมือกันในการป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
    

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของการป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้

     

    2 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญไม่ให้เพาะพันธ์ยุงลาย
    ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละของประชาชนที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญไม่ให้มีการเพาะพันธ์ยุงลาย

     

    3 3. เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละของทุกภาคส่วนที่ได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน

     

    4 4. เพื่อกำจัดยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป
    ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละของการกำจัดยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1517
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,517
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้ (2) 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญไม่ให้เพาะพันธ์ยุงลาย (3) 3. เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน (4) 4. เพื่อกำจัดยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 59-L4127-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายนูรอาบีดีนจารง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด