กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพ่นหมอกควันป้องกันโรคที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559
รหัสโครงการ 59-L4127-2-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
วันที่อนุมัติ 29 เมษายน 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 4 พฤษภาคม 2559 - 7 พฤษภาคม 2559
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนูรอาบีดีนจารง
พี่เลี้ยงโครงการ นายรอแมดอเลาะ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.212,101.291place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1517 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกถือได้ว่าเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งความรุนแรงของโรคสามารถทำให้่ผู้ป่วยเสียชีวิตได้ แม้จะมีการรณรงค์ให้มีการป้องกัน ควบคุมไม่ให้มีการเผยแพร่ระบาดของโรคทั้งภาครัฐและเอกชนอยู่เป็นประจำ แต่ก็ไม่สามารถทเำให้โรคนี้หมดไปจากสังคมไทยของเราได้เลย การแพร่กระจายของเชื้อโรคต่างๆ มากมาย ตามสถานการณ์ในปัจจุบัน มียุง และพาหะนำเชื้อโรคที่รุนแรงต่อสุขภาพของประชาชน โดยภาพแวดล้อมในท้องถิ่น ถือเป็นแหล่งก่อให้เกิดการเจ็บป่วยที่ร้ายแรง จึงได้จัดทำโครงการพ่นหมอกควันป้งกันภัยที่เกิดจากยุงเป็นพาหะ ปี 2559 เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกและโรคอื่นๆ ในช่วงฤดูกาลระบาด โคยความร่วมมือนจากภาคประชาชนได้แก่ ผู้นำชุมชน เพื่อให้การควบคุมป้องกันโรคดังกล่าว เเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้
  1. ร้อยละของการป้องกันการเกิดและแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้
2 2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญไม่ให้เพาะพันธ์ยุงลาย
  1. ร้อยละของประชาชนที่ได้ตระหนักถึงความสำคัญไม่ให้มีการเพาะพันธ์ยุงลาย
3 3. เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน
  1. ร้อยละของทุกภาคส่วนที่ได้มีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชน
4 4. เพื่อกำจัดยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป
  1. ร้อยละของการกำจัดยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. กำหนดแนวทางในการดำเนินการในพื้นที่เสี่ยง
  2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เช่น วัสดุเคมีภัณฑ์ อุปกรณ์พ่นหมอกควัน
  3. ประสานความร่วมมือกับผู้นำชุมชนในหมู่บ้าน ให้ทราบถึงการมีส่วนร่วม
  4. ประชาสัมพันธ์โครงการฯในเขตพื้นที่
  5. ดำเนินการตามโครงการฯ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถป้องกันการเกิดและการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคที่เกิดจากยุงได้
  2. ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลาย
  3. เกิดการมีส่วนร่วมในการป้องกันการแพร่กระจายของโรคที่เกิดขึ้นในชุมชนได้ทุกภาคส่วน
  4. สามารถกำจัดลูกน้ำยุงลาย และพ่นหมอกควันยุงลายให้หมดไป
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ