กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เครื่องเทศใกล้มือ ประจำปี 2568 ”
ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะวารี หะมีแย




ชื่อโครงการ เครื่องเทศใกล้มือ ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4152-02-08 เลขที่ข้อตกลง 02/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"เครื่องเทศใกล้มือ ประจำปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เครื่องเทศใกล้มือ ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " เครื่องเทศใกล้มือ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4152-02-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เครื่องเทศเป็นส่วนประกอบสำคัญในอาหารหลายชนิดทั่วโลก ปัจจุบันเครื่องเทศเป็นพืชที่มีศักยภาพในการผลิตและการค้า หลายชนิดสามารถเพาะปลูกได้ดีในประเทศและสามารถส่งออก ตลอดจนทดแทนการนำเข้ามาใช้ในประเทศได้ แต่ในขณะเดียวกันเครื่องเทศยังมีบทบาทสำคัญทางการแพทย์มาแต่โบราณ เนื่องจากมีสรรพคุณทางยาในการบำรุงร่างกาย รักษาโรค และป้องกันการติดเชื้อต่างๆ เครื่องเทศหลายชนิดถูกนำมาใช้ในระบบการแพทย์ทางเลือก เช่น แพทย์แผนไทย แพทย์แผนจีน และแพทย์อายุรเวท เครื่องเทศเป็นพืชที่มีคุณค่าทางโภชนาการและสรรพคุณทางยา ซึ่งถูกใช้มาอย่างยาวนาน มีกลิ่นและรสชาติเฉพาะตัวเนื่องจากส่วนต่างๆของเครื่องเทศที่เรานำมาใช้ประโยชน์มีองค์ประกอบทางเคมีแตกต่างกันไป องค์ประกอบทางเคมีเหล่านี้มีสรรพคุณทางยารักษาโรค อาหาร เครื่องดื่ม และเครื่องสำอาง พืชเครื่องเทศยังเป็นพืชที่มีน้ำมันหอมระเหย (Aromatic Plant) น้ำมันหอมระเหยเป็นไขมันที่มีจุดเดือดต่ำระเหยได้ที่อุณหภูมิห้อง จึงเป็นส่วนสำคัญในการนำพาสารให้กลิ่นจากเครื่องเทศไปทำให้เราได้กลิ่นหอมของเครื่องเทศ พืชเครื่องเทศมีน้ำมันหอมระเหยมากได้แก่ ตะไคร้ กานพลู จันทน์เทศ มะกรูด พริกไทยขาว โหระพา เป็นต้น กลิ่นและรสชาติเครื่องเทศเหล่านั้นมีสารสำคัญที่มีสรรพคุณทางยาหลายชนิด การได้รับประทานอาหารที่ใช้เครื่องเทศปรุง แต่ง สี กลิ่น รส เป็นประจำจะทำให้ได้ประโยชน์จากสารต่าง ๆ เป็นผลดีต่อสุขภาพ โดยเฉพาะโรคทางเดินอาหารและทางเดินหายใจ โดยมีคุณค่าทางยา ซึ่งเป็นภูมิปัญญาแต่โบราณ ซึ่งหมายถึงเครื่องเทศที่ผสมในอาหารช่วยป้องกันโรคอันเกิดจากการรับประทานอาหารนั้นด้วย จากเหตุผลข้างต้นจะเห็นได้ว่า เครื่องเทศมีประโยชน์การแพทย์ที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน การช่วยระบบย่อยอาหาร การต้านอนุมูลอิสระ
การบรรเทาอาการปวด และการดูแลสุขภาพโดยรวม ดังนั้น การนำเครื่องเทศมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของอาหาร ในชีวิตประจำวัน ไม่เพียงแต่ช่วยเพิ่มรสชาติให้อาหารอร่อยขึ้นเท่านั้น แต่ยังช่วยส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้รู้จักสรรพคุณสมุนไพรเครื่องเทศในครัวเรือน
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรเครื่องเทศให้มีประโยชน์ทางการรักษาเบื้องต้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    8.1 ประชาชนในตำบลกอตอตือร๊ะรู้จักสรรพคุณทางยาของสมุนไพรเครื่องเทศ 8.2 ประชาชนในตำบลกอตอตือร๊ะสามารถต่อยอดสมุนไพรเครื่องเทศในครัวเรือนมาใช้ประโยชน์ทางการรักษาเบื้องต้นได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้รู้จักสรรพคุณสมุนไพรเครื่องเทศในครัวเรือน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้าอบรมรู้จักสรรพคุณสมุนไพรเครื่องเทศในครัวเรือน

     

    2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรเครื่องเทศให้มีประโยชน์ทางการรักษาเบื้องต้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 การใช้สมุนไพรเครื่องเทศให้มีประโยชน์ทางการรักษาเบื้องต้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้รู้จักสรรพคุณสมุนไพรเครื่องเทศในครัวเรือน (2) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรเครื่องเทศให้มีประโยชน์ทางการรักษาเบื้องต้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    เครื่องเทศใกล้มือ ประจำปี 2568 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68-L4152-02-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเจ๊ะวารี หะมีแย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด