กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตำบลกอตอตือร๊ะสุขภาพดี IQ ดี ประจำปี 2568 ”
ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะวารี หะมีแย




ชื่อโครงการ ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตำบลกอตอตือร๊ะสุขภาพดี IQ ดี ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4152-02-11 เลขที่ข้อตกลง 01/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 เมษายน 2568 ถึง 29 เมษายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตำบลกอตอตือร๊ะสุขภาพดี IQ ดี ประจำปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตำบลกอตอตือร๊ะสุขภาพดี IQ ดี ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตำบลกอตอตือร๊ะสุขภาพดี IQ ดี ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกอตอตือร๊ะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4152-02-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 เมษายน 2568 - 29 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กอตอตือร๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ ต้องได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมดุลทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา การพัฒนาคุณภาพชีวิตของเด็กตั้งแต่ในครรภ์ เพื่อส่งเสริมการเกิด ให้มีคุณภาพ ย่อมสัมพันธ์กับการพัฒนาสุขภาพอนามัยของแม่ เนื่องด้วยสุขภาพของแม่ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
มีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนถึง ระยะหลังคลอด ในระหว่างการตั้งครรภ์เป็นช่วงที่ทารกมีการพัฒนาโครงสร้างสมองสูงสุด อีกทั้งยังเป็นช่วง ของการสร้างอวัยวะต่างๆ ส่งผลต่อระบบภูมิต้านทานโรค ระบบเผาผลาญ ระบบทางเดินอาหารของร่างกายให้สมบูรณ์ โรคหรือภาวะหลายอย่างที่พบในพ่อ แม่หรือที่เกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์จะส่งผลกระทบหรือมีอันตรายต่อทารก ในครรภ์ได้ เช่น ปัญหาการขาดสารอาหาร โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรมเช่น ธาลัสซีเมีย ภาวะกลุ่มอาการดาวน์ โรคติดเชื้อต่าง ๆ เช่น เอดส์ ซิฟิลิส หัดเยอรมัน รวมถึงโรคอายุรกรรมร้ายแรงที่ไม่ควรตั้งครรภ์เช่นโรคหัวใจ เป็นต้น จึงจำเป็นต้องมีการดูแลส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัย ทารกสมบูรณ์แข็งแรง ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องในการเจริญเติบโต พัฒนาการสมวัย จากงานศึกษาวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัย ได้แก่ การมีโรคประจำตัวของมารดา ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ การได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก โฟเลตและไอโอดีน การฝากครรภ์ครั้งแรก ≤ 12 สัปดาห์ การฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ และปัจจัยด้านเด็กปฐมวัย ได้แก่ อายุครรภ์เมื่อคลอด น้ำหนักทารกเมื่อแรกเกิด การขาดออกซิเจน ที่ 1 นาที เด็กมีโรคประจำตัว มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ปัญหาขาดสารอาหาร น้ำหนักตามส่วนสูง ส่วนสูงตามอายุ และการเล่นกับเด็กโดยสื่อบุคคล ดังนั้น พื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนาคุณภาพประชากร ต้องเตรียมความพร้อม ของสตรีก่อนตั้งครรภ์ การดูแลระหว่างตั้งครรภ์ ขณะคลอดและหลังคลอด รวมถึงการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเป็นผลให้เด็ก มีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ (Full Potential Growth)
เป็นโอกาสทองในการพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีสุขภาพและศักยภาพที่ดีในอนาคต กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
มีแนวคิดเพื่อการพัฒนาประชากรกลุ่มแม่และเด็ก โดยการพัฒนาหน่วยบริการสาธารณสุขตามกระบวนการคุณภาพ การจัดระบบบริการที่ได้มาตรฐานตั้งแต่การเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ การคลอด และดูแลหลังคลอด โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ ทั่วประเทศและหน่วยงานภาคี ได้มีการพัฒนาระบบบริการเพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กและมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง และในปี
พ.ศ. 2567 กรมอนามัยได้พัฒนาโปรแกรมคัดกรองความเสี่ยงหญิงตั้งครรภ์เชิงรุก (Save mom) โดยการมีส่วนร่วมของหญิงตั้งครรภ์และอสม. ซึ่งจะขยายการดำเนินงานทั่วประเทศ เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และทารกได้รับการวินิจฉัย
การดูแลรักษาและส่งต่อที่รวดเร็วทันเวลาอย่างมีประสิทธิภาพ เน้นการจัดการความเสี่ยงด้วยระบบเครือข่ายบริการสุขภาพระดับจังหวัด จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ที่ผ่านมาสุขภาพของแม่และเด็กดีขึ้นเป็นลำดับแต่ยังพบปัญหาบางประการที่ยังต้องพัฒนา โดยสถานการณ์งานแม่และเด็กปีงบประมาณ 2567 พบว่า อัตราส่วนการตายมารดาเท่ากับ 0 ต่อการเกิดมีชีพแสน หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 98.23 ฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ร้อยละ 84.09 หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมไอโอดีน ร้อยละ 100 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางร้อยละ 15.11 ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 6.59 (HDC,11 กันยายน 2567) และส่งผลต่อสุขภาพแม่และเด็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และไม่ตายจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้
  2. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดบุตรน้ำหนักน้อย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้สามารถดูแลตนเองและบุตรได้ร้อยละ 80
    2. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
    3. ไม่พบภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้จากการคลอด

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และไม่ตายจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และไม่ตายจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้

     

    2 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดบุตรน้ำหนักน้อย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดบุตรน้ำหนักน้อย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 180
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์และไม่ตายจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้ (2) เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการติดตามดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง/กลุ่มเสี่ยงต่อการคลอดบุตรน้ำหนักน้อย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่งเสริมอนามัยแม่และเด็กตำบลกอตอตือร๊ะสุขภาพดี IQ ดี ประจำปี 2568 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 68-L4152-02-11

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเจ๊ะวารี หะมีแย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด