กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบปัญหาโรคไข้เลือดออกและแหล่งเกิดโรคในพื้นที่ 10 ม.ค. 2568 10 ม.ค. 2568

 

  1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
  2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
  3. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โดยใช้วิธีทางกายภาพและทางเคมี โดยใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำในภาชนะที่ไม่สามารถปิดได้ พร้อมปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
  4. จัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์กรณีมีผู้ป่วยในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกำจัดยุงตัวแก่ ดำเนินการใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ ใช้โลชั่นกันยุงทาตัวผู้ป่วย ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นกำจัดยุงภายในบ้าน เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
  5. สรุปผลโครงการ

 

ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0

 

กิจกรรมประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว 10 ม.ค. 2568 10 ม.ค. 2568

 

  1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
  2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
  3. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โดยใช้วิธีทางกายภาพและทางเคมี โดยใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำในภาชนะที่ไม่สามารถปิดได้ พร้อมปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
  4. จัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์กรณีมีผู้ป่วยในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกำจัดยุงตัวแก่ ดำเนินการใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ ใช้โลชั่นกันยุงทาตัวผู้ป่วย ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นกำจัดยุงภายในบ้าน เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
  5. สรุปผลโครงการ

 

ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0

 

กิจกรรมรณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน 10 ม.ค. 2568 10 ม.ค. 2568

 

  1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อรับทราบแนวทางการดำเนินงาน
  2. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกทางหอกระจายข่าว
  3. รณรงค์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านร่วมกับโรงเรียน แกนนำประจำครอบครัว และอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) โดยใช้วิธีทางกายภาพและทางเคมี โดยใช้สารเคมีกำจัดลูกน้ำในภาชนะที่ไม่สามารถปิดได้ พร้อมปรับสภาพแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
  4. จัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์กรณีมีผู้ป่วยในพื้นที่ เจ้าหน้าที่ดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน/ละอองฝอยกำจัดยุงตัวแก่ ดำเนินการใส่สารเคมีกำจัดลูกน้ำ ใช้โลชั่นกันยุงทาตัวผู้ป่วย ใช้สเปรย์กระป๋องฉีดพ่นกำจัดยุงภายในบ้าน เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรค
  5. สรุปผลโครงการ

 

ร้อยละ 90 ของหมู่บ้าน มีค่า HI น้อยกว่า 10 และค่า CI เท่ากับ 0