กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นายอนุชา นวลไทย ตำแหน่ง ผู้บัญชาการเรือนจำอำเภอเบตง




ชื่อโครงการ โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2568-L7161-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 4 เมษายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 4 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พหุวัฒนธรรม คือความหลากหลายในด้านเชื้อชาติศาสนา เพศสภาพ การยอมรับทางสังคม และชนชั้นทางสังคม ซึ่งส่งผลกระทบพบเจอของความแตกต่างกัน ซึ่งหลายครั้งนั้นนำมาสู่ความไม่ไว้วางใจกัน ต่อวัฒนธรรมนั้นแต่ไม่แตกแยก มิใช่วาทกรรม แต่ได้ผุดขึ้น และงอกงามในวัฒนธรรมสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ดังเห็นได้จากความมีน้ำจิตน้ำใจช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยไม่เกี่ยวศาสนา ภาพเหล่านี้ข้าพเจ้าได้เห็นมากับตา เมื่อเร็ว ๆ นี้เกิดอุทกภัยที่จังหวัดยะลา เขื่อนบางลางรับน้ำไม่ไหวต้องระบายออก และมวลน้ำเหล่านี้ได้เข้ามาท่วมในตัวเมืองปัตตานี อุทกภัยนี้หากมองในแง่ร้ายจะเห็นเพียงความสูญเสีย แต่ในแง่ของความเอื้ออาทรเราจะเห็นจากเหตุการณ์นี้ได้ทันที ภาพทหารที่คอยช่วยเหลือชาวบ้านถามไถ่สารทุกข์สุขดิบ และหยิบยื่นข้าวของยังชีพในภาวะวิกฤตน้ำท่วม ภาพนักศึกษาหญิงชาวมุสลิมไปช่วยแจกถุงยังชีพให้กับชาวบ้านชุมชน ไทย – พุทธ ภาพเหล่านี้ประทับตรึงใจข้าพเจ้า ทั้งความรักและความสามัคคีปรองดอง ดังคำกล่าวที่ว่า “มีสุขร่วมเสพ มีทุกข์ร่วมต้าน” เพราะเรายืนอยู่บนผืนแผ่นดินไทยผืนเดียวกัน ฉะนั้นแล้วสิ่งที่มีคุณค่าและล้ำค่าที่สุดคือความเป็นคนไทย ที่สะท้อนผ่านความดี ความรัก และความสามัคคีปรองดองศาสนบำบัด ปรองดองศาสนบำบัด คือการนำหลักธรรมตามหลักศาสนามาจัดเป็นกิจกรรม ควบคู่ไปกับหลักการทางด้านจิตวิทยา ซึ่งจะเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถขัดเกลาและส่งเสริมให้กับผู้ต้องขังมีสมาธิ มีสติ และเกิดปัญญา มีคุณธรรม มีความเอื้ออารี เป็นการขัดเกลาพื้นฐานทางจิตใจในกรอบคุณธรรมจริยธรรม และส่งผลให้ผู้ต้องขังมีทัศนคติที่ดีต่อการดำเนินชีวิตทั้งขณะต้องโทษ และเมื่อพ้นโทษไปแล้ว ทั้งนี้ ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้สร้างความเท่าเทียมด้านสุขภาพ ตามหลักสิทธิมนุษยชน โดยจัดระบบการให้บริการสาธารณสุขที่จำเป็นต่อสุขภาพในการดำรงชีวิตและการรักษาพยาบาลที่มีมาตรฐานให้ประชาชนชาวไทย และระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเป็น เสมือนระบบศีลธรรมที่เกื้อกูลดูแลเพื่อนมนุษย์ โดยหลักการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุขด้านสุขภาพให้กับคนทุกคน ไม่เว้นแม้แต่กลุ่มผู้ต้องขังซึ่งมักถูกตีตราจากสังคมว่าเป็นบุคคลไม่พึงประสงค์ ด้วยโทษความผิดที่รับ โดยสภาวะที่ต้องควบคุมตัวตามหมายศาลภายในเรือนจำ อาจเป็นสาเหตุให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล
จากข้อมูลสถิติเมื่อเดือนตุลาคม ผู้ต้องขังนับถือศาสนาอิสลาม จำนวน 133 คน คิดเป็นร้อยละ 55.65 ผู้ต้องขังนับถือศาสนาพุทธ จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 41.84 และผู้ต้องขังที่นับถือศาสนาคริสต์ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 2.51 ผู้ต้องขังรวมทั้งสิ้น 239 คน ดังนั้นเรือนจำอำเภอเบตงจึงจัดโครงการศาสนบำบัดพุทธ “หลักสูตรสัคคสาสมาธิ”ตามแนวทางสมเด็จพระญาณวชิโรดม (หลวงพ่อวิริยังค์ สิริญธโร) และโครงการศาสนบำบัดอิสลาม “หลักสูตรอิสลามเบื้องต้น” เพื่อเป็นการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพให้กับผู้ต้องขัง ด้านสร้างเสริมสุขภาพจิต เรือนจำจึงทำโครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเป็นการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้ต้องขัง โดยใช้แนวทางศาสนบำบัด
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ต้องขังมีความรู้ความเข้าใจ และทักษะการดูแลสุขภาพตามหลักศาสนบำบัด
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ต้องขังสามารถนำคำสอนของศาสนามาเป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  4. เพื่อให้ผู้ต้องขังได้รับการอบรมแก้ไขพฤตินิสัย เพื่อกลับตนเป็นคนดีสู่สังคม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเป็นการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้ต้องขัง โดยใช้แนวทางศาสนบำบัด
ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังเข้ารับบริการสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้ต้องขัง โดยใช้แนวทางศาสนบำบัด ร้อยละ 100
100.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ต้องขังมีความรู้ความเข้าใจ และทักษะการดูแลสุขภาพตามหลักศาสนบำบัด
ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังได้เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ร้อยละ 80
80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ต้องขังสามารถนำคำสอนของศาสนามาเป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังสามารถปฏิบัติแนวตามคำสั่งสอนของศาสนาได้ ร้อยละ 100
100.00

 

4 เพื่อให้ผู้ต้องขังได้รับการอบรมแก้ไขพฤตินิสัย เพื่อกลับตนเป็นคนดีสู่สังคม
ตัวชี้วัด : ผู้ต้องขังได้รับการอบรมแก้ไขพฤตินิสัย เพื่อกลับตนเป็นคนดีสู่สังคม ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเป็นการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพให้กับผู้ต้องขัง โดยใช้แนวทางศาสนบำบัด (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ต้องขังมีความรู้ความเข้าใจ  และทักษะการดูแลสุขภาพตามหลักศาสนบำบัด (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ต้องขังสามารถนำคำสอนของศาสนามาเป็นแนวทางในการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (4) เพื่อให้ผู้ต้องขังได้รับการอบรมแก้ไขพฤตินิสัย เพื่อกลับตนเป็นคนดีสู่สังคม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการศาสนบำบัดพุทธและอิสลามในพื้นที่พหุวัฒนธรรม จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2568-L7161-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนุชา นวลไทย ตำแหน่ง ผู้บัญชาการเรือนจำอำเภอเบตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด