โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายจิตรภณ บุญเกิด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-20 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพ ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่นการบริโภค การออกกำลังกาย ความเครียดการดื่มสุรา สูบบุหรี่ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ปัจจุบันคนไทยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกันมากขึ้น และพบว่าผู้ป่วยเบาหวานมีอายุน้อยลง โดยผลการสำรวจข้อมูลคนไทยที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานมากถึง 9.5% โดย 2 ใน 3 ของผู้ป่วยเท่านั้นที่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน ส่วนที่เหลือ 1 ใน 3 นั้นไม่ได้รับการตรวจและรักษาอย่างถูกวิธี โรคความดันโลหิตสูงมักไม่แสดงอาการ แต่สร้างความเสียหายต่อหลอดเลือดและหัวใจ ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้ป่วยมากกว่า 90-95 เปอร์เซ็นต์ ไม่สามารถหาสาเหตุที่ชัดเจนของโรคได้ พบเพียงปัจจัยเสี่ยง เช่น อายุที่มากขึ้น น้ำหนักที่เกินเกณฑ์มาตรฐาน อาหารที่รับประทาน หรือพันธุกรรม โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังและป้องกันอย่างต่อเนื่องจะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรค ติดเชื้อในปัจจุบัน และในอนาคต ดังนั้นการดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศจำเป็นจะต้องพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัวและชุมชนครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวโดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนกือติง จึงได้จัดทำโครงการขึ้นต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 4 จากการทำกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565 ประชาชนในชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตรวจน้ำตาลในเลือด ผลการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง ร้อยละ 100 แยกกลุ่มดี ร้อยละ 14.94 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 62.07 กลุ่มป่วย ร้อยละ 22.99 ผลการตรวจคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ 100 แยกกลุ่มดี ร้อยละ 50.00 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 40.23 กลุ่มป่วย ร้อยละ 9.77 และเข้ารับฟังการบรรยายและคำแนะนำจากวิทยากรเป็นอย่างดี
อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนกือติง เป็นผู้มีจิตอาสาดูแลรับผิดชอบประชากรในด้านการสาธารณสุขของทุกคนในชุมชนกือติง ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 369 ครัวเรือน มีประชากรจำนวนทั้งสิ้น 1,750 คน แยกเป็นชาย 510 คน หญิง 1,240 คน เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ได้บ้างบางส่วน ทางกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนกือติง จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังเป็นการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจได้ตามสมควรแก่อัตภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 : ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
- 2. กิจกรรมที่ 2 : อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและคัดกรองเบาหวานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชน ในการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกัน
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
- อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 95
95.00
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดัน/โรคเบาหวาน ร้อยละ 95
95.00
3
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้จากการบรรยายของวิทยากรชำนาญงานประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้ปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ. 2ส.
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 : ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (2) 2. กิจกรรมที่ 2 : อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายจิตรภณ บุญเกิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายจิตรภณ บุญเกิด
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-20 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2568-L7161-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากกระแสการเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและสุขภาพ ทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง เช่นการบริโภค การออกกำลังกาย ความเครียดการดื่มสุรา สูบบุหรี่ซึ่งเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น ปัจจุบันคนไทยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานกันมากขึ้น และพบว่าผู้ป่วยเบาหวานมีอายุน้อยลง โดยผลการสำรวจข้อมูลคนไทยที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวานมากถึง 9.5% โดย 2 ใน 3 ของผู้ป่วยเท่านั้นที่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน ส่วนที่เหลือ 1 ใน 3 นั้นไม่ได้รับการตรวจและรักษาอย่างถูกวิธี โรคความดันโลหิตสูงมักไม่แสดงอาการ แต่สร้างความเสียหายต่อหลอดเลือดและหัวใจ ทำให้เกิดความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้ป่วยมากกว่า 90-95 เปอร์เซ็นต์ ไม่สามารถหาสาเหตุที่ชัดเจนของโรคได้ พบเพียงปัจจัยเสี่ยง เช่น อายุที่มากขึ้น น้ำหนักที่เกินเกณฑ์มาตรฐาน อาหารที่รับประทาน หรือพันธุกรรม โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังและป้องกันอย่างต่อเนื่องจะเห็นได้จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรค ติดเชื้อในปัจจุบัน และในอนาคต ดังนั้นการดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศจำเป็นจะต้องพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม ทั้งระดับบุคคลครอบครัวและชุมชนครอบคลุมกลุ่มประชากรเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนสามารถส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคให้แก่ตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้ ซึ่งการดำเนินงานดังกล่าวจำเป็นจะต้องส่งเสริมพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่สำคัญๆ ที่ก่อให้เกิดปัญหาสาธารณสุขของประเทศการสร้างสุขภาพที่ดีให้กับประชาชนและลดปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในระยะยาวโดยใช้กระบวนการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานช่วยคนไทยห่างไกลโรคให้บรรลุผลสำเร็จ โดยการส่งเสริมให้มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนกือติง จึงได้จัดทำโครงการขึ้นต่อเนื่องเป็นครั้งที่ 4 จากการทำกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2565 ประชาชนในชุมชนได้เข้าร่วมกิจกรรมตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตรวจน้ำตาลในเลือด ผลการตรวจคัดกรองความดันโลหิตสูง ร้อยละ 100 แยกกลุ่มดี ร้อยละ 14.94 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 62.07 กลุ่มป่วย ร้อยละ 22.99 ผลการตรวจคัดกรองเบาหวาน ร้อยละ 100 แยกกลุ่มดี ร้อยละ 50.00 กลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 40.23 กลุ่มป่วย ร้อยละ 9.77 และเข้ารับฟังการบรรยายและคำแนะนำจากวิทยากรเป็นอย่างดี อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนกือติง เป็นผู้มีจิตอาสาดูแลรับผิดชอบประชากรในด้านการสาธารณสุขของทุกคนในชุมชนกือติง ซึ่งมีจำนวนครัวเรือนทั้งหมด 369 ครัวเรือน มีประชากรจำนวนทั้งสิ้น 1,750 คน แยกเป็นชาย 510 คน หญิง 1,240 คน เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ได้บ้างบางส่วน ทางกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนกือติง จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขึ้นเพื่อให้ประชาชนได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่อง ทั้งยังเป็นการส่งเสริมและช่วยเหลือประชาชนให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจได้ตามสมควรแก่อัตภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 : ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
- 2. กิจกรรมที่ 2 : อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดันโลหิตและคัดกรองเบาหวานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- ได้รับความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในชุมชน ในการดูแลสุขภาพประชาชนร่วมกัน
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม
- อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานรายใหม่ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรอง ร้อยละ 95 |
95.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ลดอัตราการป่วยกลุ่มเสี่ยงด้วยโรคความดัน/โรคเบาหวาน ร้อยละ 95 |
95.00 |
|
||
3 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส. ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้จากการบรรยายของวิทยากรชำนาญงานประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้ปรับพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3อ. 2ส. |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้นเพื่อค้นหาภาวะเสี่ยงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับความรู้เรื่องโรคและภาวะแทรกซ้อนของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (3) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วย 3 อ. 2 ส.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 : ตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น (2) 2. กิจกรรมที่ 2 : อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 2568-L7161-2-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายจิตรภณ บุญเกิด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......