กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการค้นหาภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์ และครอบคลุม
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการค้นหาภาวะแทรกซ้อนตามเกณฑ์ และครอบคลุมร้อยละ 80

 

 

 

2 ๒. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่พบภาวะแทรกซ้อนอย่างใดอย่างหนึ่งได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง และส่งต่อทันท่วงที
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ ๑๐๐ ของ ผู้ป่วยที่มีปัญหาเฉพาะทางได้รับการดูแลและส่งต่อ ตามมาตรฐาน

 

 

 

3 ๓. เพื่อพัฒนาการดูแลรักษาภาวะความดันโลหิต และน้ำตาลในเลือดสูงแบบมีส่วนร่วมในการจัดการตนเอง และสถานบริการ
ตัวชี้วัด : 3.ผู้ป่วยที่ควบคุมระดับความดันโลหิตด้วยตนเองที่บ้าน มีค่าระดับความดันโลหิตลดลง/น้อยกว่า๑๔๐/๙๐mmHg ร้อยละ ๘๐ ผู้ป่วยที่เจาะระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเองที่บ้าน มีค่าระดับน้ำตาลเฉลี่ยลดลง/น้อยกว่า ๗ ร้อยละ ๖๐

 

 

 

4 ๔. เพื่อชะลอและลดอัตราการเกิดภาวะไตวาย การถูกตัดเท้า หรือตาบอดในผู้ป่วยที่พบเบาหวานขึ้นจอประสาทตา
ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ป่วยเบาหวานที่มีแผลที่เท้าได้รับการประเมินโดยพยาบาล รพ.สต และส่งต่อคลินิกเท้า รพ.วังวิเศษและโรงพยาบาลตรัง

 

 

 

5 5. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง มีพฤติกรรมสุขภาพ (ด้าน ๓ อ ๒ ส และการรับประทานยา) ในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง และเหมาะสม ความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : 5.ผู้ป่วยมีความรู้และสามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 80