โครงการ I see the Future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการ I see the Future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียน ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L8418-1-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลนาเกตุ |
วันที่อนุมัติ | 31 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 48,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวรุสนา ยูโซะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางประภัสสร ขวัญกะโผะ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลนาเกตุ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.744,101.155place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาภาวะสายตาผิดปกติในเด็ก โดยเฉพาะเด็กนักนักเรียนชั้นประถมศึกษาตั้งแต่ ป.1-ป.6 ที่นับวันวันจะทวีความรุนแรงขึ้น สาเหตุหนึ่งอาจมาจากการที่เด็กใช้สายตาผ่านอุปกรณ์ดิจิทัลมากขึ้น ซึ่งต้องรับแสงและเพ่งมองจอเป็นเวลานาน ส่งผลให้กล้ามเนื้อสายตาเมื่อขล้า หรืออาจทำให้จอตาเสื่อมไวขึ้น นำไปสู่ภาวะสายตาสั้น สายดายตาเอียง สายตาเลือนราง ฯลฯ ได้ ซึ่งจะส่งผลต่อการเรียนรู้ พัฒนาการทางสมองและสติปัญญา กระบวนการจดจำและความคิดช้าลง ภาวะสายตาที่ผิดปกติ (Refractive error) ถูกขัดให้เป็นปัญหาที่ทำให้เกิด ภาวะสายตาเลือนรางและตาบอดอันดับที่หนึ่งโดยองค์การอนามัยโลก สายตาผิดปกติที่ไม่ได้รับการแก้ไขในเด็กโดยเฉพาะในวัยเรียนจะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการความสามารถในการเรียนรู้รวมไปถึงบคลิกภาพของเด็ก ดังนั้นการค้นหา ให้การวินิจฉัยและรักษาตั้งแต่แรกเริ่มจึงเป็นเสมือนการป้องกันและช่วยให้เด็กสามารถมีการมองเห็นได้เป็นปกติหรืออาจจะใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น องค์การบริหารส่วนตำบลนาเกตุ ซึ่งเป็นหน่วยงานในการกำกับดูแล ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของนักเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลนาเกตุ จึงได้จัดทำโครงการ I see the Future คืนดวงตาสดใส ให้เด็กนักเรียน ปี 68 สำหรับเด็กนักเรียนในช่วงวัยนี้ กรณีที่มีความผิดปกติทางสายตาไม่ว่าจะสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียง ฯลฯ จะมีปัญหาต่อการเรียนรู้และพัฒนาการที่ล่าช้ากว่าปกติ หรืออาจทำให้เด็กไม่อยากเรือนหนังสือและอาจจะหลุดออกจากระบบการศึกษา เพียงเพราะปัญหาการมองเห็นที่ไม่ชัดเจน ซึ่งเป็นเรื่องที่ไม่น่าจะเกิดขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มการคัดกรองสายตาเด็ก 0-15 ปี หรือ อนุบาล-มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ด้วย E-chart ร้อยละของเด็ก 0-15 ปี หรือ อนุบาล-มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ได้รับการคัดกรองสายตาด้วย E-chart |
||
2 | เพื่อเพิ่มการแก้ปัญหาด้วยแว่นสายตา เด็ก 0-15 ปี หรือ อนุบาล-มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่มีความผิดปกติสายตา ร้อยละของเด็ก 0-15 ปี หรือ อนุบาล-มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่มีความผิดปกติสายตา Va > 20/30 ได้รับการแก้ปัญหาด้วยแว่นสายตา |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 100 | 0.00 | 0 | 0.00 | |
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรม เด็กที่มีค่าสายตา va มากกว่า 20/30 เข้ารับการตรวจคัดกรองซ้ำด้วยนักทัศนมาตร และเครื่อง auto-refraction | 100 | 0.00 | - |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.พ. 2568 12:46 น.