กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางพนิดา สาโด




ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2971-1-5 เลขที่ข้อตกลง 5/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2971-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) เพื่อสร้างหลักประกันให้คนมีชีวิตที่มีคุณภาพ และส่งเสริมสุขภาวะที่ดีของทุกเพศทุกวัย เป้าหมายที่3 สร้างหลักประกัน ว่าคนที่มีสุขภาพดี และส่งเสริมสวัสดิภาพสำหรับทุกคนในทุกวัย ข้อ 3.7 สร้างหลักประกันว่าการเข้าถึงบริการข้อมูลการให้การศึกษาเกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์โดยถ้วนหน้า รวมถึงการวางแผนครอบครัวและการผสาน อนามัยเจริญพันธุ์ในยุทธศาสตร์และแผนงานระดับชาติ ภายในปี2573 จากสถานการณ์ “ เด็กเกิดน้อย ด้วยคุณภาพ” ในหลายปีที่ผ่านมารัฐบาลไทยตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมการเกิด และการเจริญเติบโตที่มีคุณภาพ เพื่อเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สร้างความเข้มแข็ง ของการพัฒนาประเทศที่นำประเทศไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืน กรมอนามัยโดยสำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้จัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์แห่งชาติ ฉบับที่2 (พ.ศ.2560-2569) ว่าด้วยการส่งเสริมการเกิดและเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ โดยมีเป้าหมายประสงค์หลัก เพื่อส่งเสริมการเกิด ด้วยความสมัครใจ ให้เพียงพอต่อการทดแทนประชากร โดยที่การเกิดทุกรายต้องมีการวางแผน มีความตั้งใจ และมีความพร้อมในทุกด้าน นำไปสู่ การคลอดที่ปลอดภัย ทารกมีสุขภาพแข็งแรง พร้อมที่จะเติบโต อย่างมีคุณภาพใน 3 ด้าน คือ
1)เพิ่มจำนวนการเกิดที่มีความพร้อมมีความสมัครใจ และมีการวางแผน 2)ส่งเริมให้การเกิดทุกรายมีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง 3)ส่งเสริม การเจริญเติบโต เด็กมีพัฒนาการสมวัย สูงดีสมส่วนมีสติปัญญาที่ดี ประเทศไทยในหลายทศวรรษที่ผ่านมา อัตราเจริญพันธุ์ลดลงเหลือต่ำกว่า 1.59 ต่อ 1,000 ประชากรและแม้ว่าปัจจุบัน อัตราการเกิดจะลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่กลับพบว่าการเกิดดังกล่าว ร้อยละ 25 เป็นการเกิดที่ไม่ได้ตั้งใจหรือไม่มีความพร้อมและในจำนวนนี้เป็นการเกิดที่มาจากมารดาวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ถึงร้อยละ 47 เมื่อพิจารณาถึงสถานการณ์การคลอดที่ไม่ปลอดภัยพบการตายของทั้งมารดาและทารกที่มาจากภาวะเสี่ยง ขณะตั้งครรภ์ การคลอด และหลังคลอด โดยสาเหตุการตายของทารกครึ่งหนึ่งมาจากความพิการแต่กำเนิด โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ประเทศไทย พบอัตราตายทารกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี ร้อยละ 7.44 ซึ่งค่าเป้าหมายเท่ากับ 0 โดยในเขตสุขภาพที่12 พบอัตราตายทารกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี ร้อยละ 5.52 เมื่อพิจารณารายจังหวัด พบอัตราตายทารกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 6.63 ซึ่งสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ เมื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตายทารกอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1 ปี
เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็ง จึงเห็นความสำคัญในการการเตรียมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ ของประชากรในพื้นที่ให้ได้รับการสร้างเสริมความรู้ ความเข้าใจ และเข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เหมาะสมต่อการตัดสินใจก่อนสมรส ก่อนการตั้งครรภ์และมีบุตร จะทำให้มีการ วางแผนการมีบุตรอย่างถูกต้องเหมาะสม เมื่อพ่อแม่มีสุขภาพดีพร้อม ก็จะส่งผลต่อความแข็งแรงและสมบูรณ์ของทารกในครรภ์ในอนาคต นำไปสู่การคลอดที่ปลอดภัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตร เพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ
  2. เพื่อป้องกันและลดอัตราการตายของมารดาและทารก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายวัยเจริญพันธุ์
  2. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มอายุ 15-19 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตร เพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ในเรื่องการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตร เพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ
1.00 2.00

 

2 เพื่อป้องกันและลดอัตราการตายของมารดาและทารก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตร เพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ (2) เพื่อป้องกันและลดอัตราการตายของมารดาและทารก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รวบรวมข้อมูลกลุ่มเป้าหมายวัยเจริญพันธุ์ (2) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มอายุ 15-19 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเตรียมความพร้อมก่อนสมรสและก่อนมีบุตรเพื่อการเกิดทุกรายมีคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2971-1-5

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางพนิดา สาโด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด