กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร 1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50

 

2 2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละของสตรีอายุ 30 - 70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80

 

3 3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละของสตรีอายุ 30 - 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 122
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 122
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อค้นหาโรคมะเร็งในระยะก่อนเป็นมะเร็ง หรือเป็นมะเร็งระยะเริ่มแรก โดยมีระบบส่งต่อเพื่อการตรวจวินิจฉัยและการรักษาอย่างครบวงจร
1. ประชากรเพศชายและหญิง ที่มีอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ (2) 2. สตรีอายุ 30-70 ปี มีการตรวจมะเร็งเต้านมของตนเองเป็นประจำทุกเดือน และได้รับการการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมโดยเจ้าหน้าที่ ปีละ 1 ครั้ง (3) 3. สตรีอายุ 30–60 ปี ได้รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกปีละครั้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่,  เต้านม และมะเร็งปากมดลูก) (2) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก (3) อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคมะเร็งที่สำคัญ (มะเร็งตับ, ปอด, ลำไส้ใหญ่,  เต้านม และมะเร็งปากมดลูก), สาธิตการตรวจอุจจาระค้นหาโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ การตรวจเต้านมด้วยตนเอง, การตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง แก่ แกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน จำนวน 55 คน (4) อบรมให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่, มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก แก่ประชากร อายุ 30 – 70 ปี จำนวน 70 คน(เจ้าหน้าที่ 3 คน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh