โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน สาเมาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-4 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2971-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า โรคเบาหวานเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของทั่วโลกและมีแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุเกิดจากการดำเนินชีวิตและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ข้อมูลจาก IDF Diabetes Atlas พบว่า 1 ใน 10 คน ทั่วโลกป่วยด้วยโรคเบาหวานมากถึง 537 ล้านคน และเสียชีวิตมากกว่า 4 ล้านคนต่อปี คาดว่า ภายในปี 2573 จะเพิ่มขึ้นเป็น 643 ล้านคน และภายในปี 2588 จะเพิ่มมากถึง783 ล้านคน ผู้ป่วยโรคเบาหวานมากกว่า 90% เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 และเกือบครึ่งหนึ่งยังไม่ได้รับการวินิจฉัย
สำหรับประเทศไทยพบว่า 1 ใน 10 คน ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 6.5 ล้านคน โดยส่วนใหญ่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และร้อยละ 40 ที่ไม่ทราบว่าตัวเองป่วย จะเห็นได้ว่าปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย รัฐบาลภายใต้การนำของ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี โดยมีใจความส่วนหนึ่งในคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2567 เน้นย้ำให้ใช้เครือข่ายสาธารณสุขในการมีส่วนร่วมป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กระทรวงสาธารณสุข จึงมีนโยบายในการส่งเสริมให้คนไทยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม โดยมุ่งเน้นให้คนไทยนับ Carb ในการรับประทานอาหารของแต่ละบุคคลในแต่ละวัน เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อโดยขับเคลื่อนผ่านกลไกอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.)
จากสถิติของโรงพยาบาลกะพ้อ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน โดยในปี 2565 2566 และ 2567มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน 456 ,591 และ 618คน ตามลำดับ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4และหมู่.7 ตำบลกะรุบี มีผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ในความดูแลในปี 2565 ,2566 และ 2567 จำนวน145 ,149และ147 คน ตามลำดับ
จากปัญหาดังกล่าว ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเขต PCU โรงพยาบาลกะพ้อ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จึงเล็งเห็นความสำคัญและได้จัดทำโครงการหวานน้อย ลดโรค โดยการส่งเสริมและแนะนำให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความตระหนักในโรคเบาหวาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้านน้ำให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม
- เพื่อให้ประชาชนลดปริมาณน้ำตาลที่กินในแต่ละวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจร้านค้าที่ขายน้ำชงในพื้นที่ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
- ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานแก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง และอธิบายกิจกรรมที่จะดำเนินการ มอบโฟมบอร์ดโครงการ และแสตมป์แก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง
- สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและมอบเกียรติบัตรแก่ร้านน้ำชงที่เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ร้านน้ำให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม
ตัวชี้วัด : ร้านขายน้ำที่เข้าร่วมโครางการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
1.00
2.00
2
เพื่อให้ประชาชนลดปริมาณน้ำตาลที่กินในแต่ละวัน
ตัวชี้วัด : ผู้บริโภคน้ำชงหวานน้อยและไม่หวานมีปริมาณเพิ่มขึ้น
1.00
2.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้านน้ำให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม (2) เพื่อให้ประชาชนลดปริมาณน้ำตาลที่กินในแต่ละวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจร้านค้าที่ขายน้ำชงในพื้นที่ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี (2) ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานแก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง และอธิบายกิจกรรมที่จะดำเนินการ มอบโฟมบอร์ดโครงการ และแสตมป์แก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง (3) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและมอบเกียรติบัตรแก่ร้านน้ำชงที่เข้าร่วมโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยุพิน สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางยุพิน สาเมาะ
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-4 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2971-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
นายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า โรคเบาหวานเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของทั่วโลกและมีแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุเกิดจากการดำเนินชีวิตและปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ข้อมูลจาก IDF Diabetes Atlas พบว่า 1 ใน 10 คน ทั่วโลกป่วยด้วยโรคเบาหวานมากถึง 537 ล้านคน และเสียชีวิตมากกว่า 4 ล้านคนต่อปี คาดว่า ภายในปี 2573 จะเพิ่มขึ้นเป็น 643 ล้านคน และภายในปี 2588 จะเพิ่มมากถึง783 ล้านคน ผู้ป่วยโรคเบาหวานมากกว่า 90% เป็นโรคเบาหวาน ชนิดที่ 2 และเกือบครึ่งหนึ่งยังไม่ได้รับการวินิจฉัย
สำหรับประเทศไทยพบว่า 1 ใน 10 คน ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 6.5 ล้านคน โดยส่วนใหญ่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และร้อยละ 40 ที่ไม่ทราบว่าตัวเองป่วย จะเห็นได้ว่าปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย รัฐบาลภายใต้การนำของ น.ส.แพทองธาร ชินวัตร นายกรัฐมนตรี โดยมีใจความส่วนหนึ่งในคำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2567 เน้นย้ำให้ใช้เครือข่ายสาธารณสุขในการมีส่วนร่วมป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กระทรวงสาธารณสุข จึงมีนโยบายในการส่งเสริมให้คนไทยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม โดยมุ่งเน้นให้คนไทยนับ Carb ในการรับประทานอาหารของแต่ละบุคคลในแต่ละวัน เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อโดยขับเคลื่อนผ่านกลไกอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.)
จากสถิติของโรงพยาบาลกะพ้อ มีผู้ป่วยโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นทุกปีเช่นกัน โดยในปี 2565 2566 และ 2567มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน 456 ,591 และ 618คน ตามลำดับ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ ม.1 ม.2 ม.3 ม.4และหมู่.7 ตำบลกะรุบี มีผู้ป่วยโรคเบาหวานอยู่ในความดูแลในปี 2565 ,2566 และ 2567 จำนวน145 ,149และ147 คน ตามลำดับ
จากปัญหาดังกล่าว ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเขต PCU โรงพยาบาลกะพ้อ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จึงเล็งเห็นความสำคัญและได้จัดทำโครงการหวานน้อย ลดโรค โดยการส่งเสริมและแนะนำให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ความตระหนักในโรคเบาหวาน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ร้านน้ำให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม
- เพื่อให้ประชาชนลดปริมาณน้ำตาลที่กินในแต่ละวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจร้านค้าที่ขายน้ำชงในพื้นที่ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
- ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานแก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง และอธิบายกิจกรรมที่จะดำเนินการ มอบโฟมบอร์ดโครงการ และแสตมป์แก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง
- สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและมอบเกียรติบัตรแก่ร้านน้ำชงที่เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ร้านน้ำให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม ตัวชี้วัด : ร้านขายน้ำที่เข้าร่วมโครางการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
1.00 | 2.00 |
|
|
2 | เพื่อให้ประชาชนลดปริมาณน้ำตาลที่กินในแต่ละวัน ตัวชี้วัด : ผู้บริโภคน้ำชงหวานน้อยและไม่หวานมีปริมาณเพิ่มขึ้น |
1.00 | 2.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ร้านน้ำให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม (2) เพื่อให้ประชาชนลดปริมาณน้ำตาลที่กินในแต่ละวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจร้านค้าที่ขายน้ำชงในพื้นที่ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี (2) ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานแก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง และอธิบายกิจกรรมที่จะดำเนินการ มอบโฟมบอร์ดโครงการ และแสตมป์แก่ผู้ประกอบการร้านน้ำชง (3) สรุปผลการดำเนินกิจกรรมและมอบเกียรติบัตรแก่ร้านน้ำชงที่เข้าร่วมโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการหวานน้อย อร่อยได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยุพิน สาเมาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......