โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวตอยบะห์ นิคง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-6 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2971-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาเด็กปฐมวัยถือเป็นการวางรากฐานที่มีผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพของบุคคลนั้นไปจน ตลอดชีวิต และเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุดในการพัฒนาประเทศ จากการศึกษาในต่างประเทศยืนยันว่าการลงทุนในเด็กมีความคุ้มค่า ดังคำกล่าวของศาสตราจารย์ ดร.เจมส์ เจ เฮคแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลปี พ.ศ. 2542 ที่ว่า “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าและให้ผลตอบแทนแก่สังคมดีที่สุด” การดูแลเด็กปฐมวัยจึงมีความสำคัญเนื่องจากเป็นช่วงที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโต เด็กวัยนี้มีพัฒนาการด้านต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและเป็นวัยที่สำคัญที่ต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ถูกต้องเหมาะสมให้มีโภชนาการที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย มีสมองและสติปัญญาที่ดี และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมพ่อ แม่ และผู้ดูแลเด็กจึงมีบทบาทความสำคัญต่อการอบรมเลี้ยงดูเด็กในวัยนี้ให้เติบโตอย่างเต็มศักยภาพทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคมและจริยธรรม และพัฒนากระบวนการด้านความคิดและจิตใจของเด็กนำไปสู่การหล่อหลอมให้เติบโตสู่วัยผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและเป็นกำลังที่สำคัญของประเทศชาติ
อำเภอกะพ้อเป็นอำเภอหนึ่งที่พบประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก 0-5 ปี ด้านโภชนาการนำไปสู่การเกิดภาวะซีดในเด็ก 0 -5 ปี การส่งเสริมโภชนาการในการเด็ก 0 – 5 ปี จึงมีสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ซึ่งเด็กวัยก่อนเรียน มักจะมีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารอันเนื่องมาจากสาเหตุการสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวมากกว่าและยังไม่รู้ จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์การมีโภชนาการที่ดีจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากร่างกายของเด็กต้องการสารอาหารที่ดีและมีประโยชน์ต่อร่างกายนำไปเสริมสร้างการเจริญเติบโตและพัฒนาการ โดยเด็กที่อายุระหว่าง 1-6 ปี ซึ่งเป็นช่วงปีแห่งการปลูกจิตสำนึก (Formative Years) จึงมีการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อย่างค่อนข้างรวดเร็ว การให้อาหารเด็กอย่างไม่เหมาะสมหรือไม่ครบทั้ง 5 หมู่ จะทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงัก จะส่งผลทำให้เด็กร่างกายแคระแกรนสติปัญญาทึบ ไม่มีความพร้อมในการเรียน ประสิทธิภาพการเรียนรู้และการทำงานต่ำและเจ็บป่วยบ่อย นำไปสู่ชีวิตที่มีคุณภาพที่ไม่ดีในอนาคตได้
จากสถานการณ์ด้านสุขภาพของประชากรในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านบาโงยือแบ็ง พบว่า ประชากรทั้งหมดในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็งจำนวน 1,228คน ประชากรกลุ่มที่มีอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 10.26 ของประชากรทั้งหมด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน
- ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม
- ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องหลักโภชนาการของเด็ก และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมโภชนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน
ตัวชี้วัด : เด็ก 0- 5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้น อย่างน้อยร้อย 90
1.00
2.00
2
ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม
ตัวชี้วัด : เด็ก 0 – 5 ปี มีภาวะซีดน้อยกว่า ร้อยละ 80
1.00
2.00
3
ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะซีดร้อยละ 90
1.00
2.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน (2) ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม (3) ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องหลักโภชนาการของเด็ก และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมโภชนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวตอยบะห์ นิคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวตอยบะห์ นิคง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-6 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2971-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การพัฒนาเด็กปฐมวัยถือเป็นการวางรากฐานที่มีผลต่อคุณภาพและประสิทธิภาพของบุคคลนั้นไปจน ตลอดชีวิต และเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าที่สุดในการพัฒนาประเทศ จากการศึกษาในต่างประเทศยืนยันว่าการลงทุนในเด็กมีความคุ้มค่า ดังคำกล่าวของศาสตราจารย์ ดร.เจมส์ เจ เฮคแมน นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลปี พ.ศ. 2542 ที่ว่า “การลงทุนพัฒนาเด็กปฐมวัยเป็นการลงทุนที่คุ้มค่าและให้ผลตอบแทนแก่สังคมดีที่สุด” การดูแลเด็กปฐมวัยจึงมีความสำคัญเนื่องจากเป็นช่วงที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโต เด็กวัยนี้มีพัฒนาการด้านต่างๆ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและเป็นวัยที่สำคัญที่ต้องได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ถูกต้องเหมาะสมให้มีโภชนาการที่ดี มีพัฒนาการที่สมวัย มีสมองและสติปัญญาที่ดี และมีพฤติกรรมที่เหมาะสมพ่อ แม่ และผู้ดูแลเด็กจึงมีบทบาทความสำคัญต่อการอบรมเลี้ยงดูเด็กในวัยนี้ให้เติบโตอย่างเต็มศักยภาพทั้งทางร่างกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ สังคมและจริยธรรม และพัฒนากระบวนการด้านความคิดและจิตใจของเด็กนำไปสู่การหล่อหลอมให้เติบโตสู่วัยผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและเป็นกำลังที่สำคัญของประเทศชาติ อำเภอกะพ้อเป็นอำเภอหนึ่งที่พบประเด็นปัญหาการพัฒนาคุณภาพชีวิต เด็ก 0-5 ปี ด้านโภชนาการนำไปสู่การเกิดภาวะซีดในเด็ก 0 -5 ปี การส่งเสริมโภชนาการในการเด็ก 0 – 5 ปี จึงมีสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ซึ่งเด็กวัยก่อนเรียน มักจะมีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารอันเนื่องมาจากสาเหตุการสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวมากกว่าและยังไม่รู้ จักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์การมีโภชนาการที่ดีจึงเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากร่างกายของเด็กต้องการสารอาหารที่ดีและมีประโยชน์ต่อร่างกายนำไปเสริมสร้างการเจริญเติบโตและพัฒนาการ โดยเด็กที่อายุระหว่าง 1-6 ปี ซึ่งเป็นช่วงปีแห่งการปลูกจิตสำนึก (Formative Years) จึงมีการพัฒนาด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ อย่างค่อนข้างรวดเร็ว การให้อาหารเด็กอย่างไม่เหมาะสมหรือไม่ครบทั้ง 5 หมู่ จะทำให้การเจริญเติบโตหยุดชะงัก จะส่งผลทำให้เด็กร่างกายแคระแกรนสติปัญญาทึบ ไม่มีความพร้อมในการเรียน ประสิทธิภาพการเรียนรู้และการทำงานต่ำและเจ็บป่วยบ่อย นำไปสู่ชีวิตที่มีคุณภาพที่ไม่ดีในอนาคตได้ จากสถานการณ์ด้านสุขภาพของประชากรในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านบาโงยือแบ็ง พบว่า ประชากรทั้งหมดในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็งจำนวน 1,228คน ประชากรกลุ่มที่มีอายุ 0 – 5 ปี จำนวน 126 คน คิดเป็นร้อยละ 10.26 ของประชากรทั้งหมด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน
- ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม
- ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้เรื่องหลักโภชนาการของเด็ก และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมโภชนาการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน ตัวชี้วัด : เด็ก 0- 5 ปี สูงดีสมส่วน เพิ่มขึ้น อย่างน้อยร้อย 90 |
1.00 | 2.00 |
|
|
2 | ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม ตัวชี้วัด : เด็ก 0 – 5 ปี มีภาวะซีดน้อยกว่า ร้อยละ 80 |
1.00 | 2.00 |
|
|
3 | ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้ ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ไม่มีภาวะซีดร้อยละ 90 |
1.00 | 2.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 40 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน (2) ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม (3) ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องหลักโภชนาการของเด็ก และสาธิตเมนูอาหารส่งเสริมโภชนาการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0 – 5 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L2971-2-6
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวตอยบะห์ นิคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......