กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กิจกรรมกวาดล้างโรคเท้าช้างในพื้นที่   ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์จ่ายยาDiethylcarbamazine Citrateรักษากลุ่ม (MDA)แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้างจำนวน 4 หมู่บ้าน โดยเน้นการกินยาต่อหน้า เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรคเท้าช้างในพื้นที่ผลการดำเนินงานดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 สรุปผลการจ่ายยารักษากลุ่ม(MDA)ในพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง
    ระหว่างวันที่ 16 มกราคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561

ลำดับ หมู่บ้าน จำนวน กินยาต่อหน้า ฝากยา ปฏิเสธ เป้าหมาย จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ 1 ม.2 บ้านปูโยะ 1,409 820 58.20 215 15.26 3 0.21 2 ม.3 บ้านโต๊ะเวาะ 1,405 957 68.11 281 20.00 1 0.07 3 ม.4 บ้านกูแบอีแก 750 573 76.40 60 8.00 0 0.00 4 ม.5 บ้านโต๊ะแดง 154 63 40.91 0 0.00 0 0.00 รวม 3,718 2,413 64.90 556 14.95 4 0.11

ความครอบคลุมการจ่ายยารักษากลุ่มในพื้นที่เสี่ยงต่อการแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง ทั้งหมด 2,969 ราย คิดเป็นร้อยละ 79.85 ปฏิเสธ 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.11 2. กิจกรรมเจาะเลือดในประชาชนพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง (ปีงบประมาณ 2561 เจาะเฉพาะ หมู่ที่ 3 บ้านโต๊ะเวาะและหมู่ที่ 5 บ้านโต๊ะแดง) ดำเนินการเจาะเลือดเพื่อหาเชื้อเท้าช้างด้วยชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานโครงการควบคุมงานโรคติดต่อฯ ศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชดำริผลการดำเนินงานดังตารางที่ 2








ตารางที่ 2สรุปผลการเจาะเลือดเพื่อหาเชื้อเท้าช้างด้วยชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว
ระหว่างวันที่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 25 สิงหาคม 2561

หมู่บ้าน จำนวนเป้าหมาย(ราย) ได้รับการตรวจด้วยชุดวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว (ราย) ไม่อยู่ในพื้นที่ (ราย) พบเชื้อเท้าช้างในกระแสเลือด (ราย) ติดตามรักษา(ราย) จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ ม.3 บ้านโต๊ะเวาะ 960 775 80.73 185 19.27 4 0.52 4 100 ม.5 บ้านโต๊ะแดง 145 90 62.06 55 37.93 0 0.00 0 0.00 รวม 1,105 865 78.28 240 21.71 4 0.52 0 0.00

ความครอบคลุมการเจาะเลือดเพื่อหาเชื้อเท้าช้างด้วยชุดตรวจวินิจฉัยโรคเท้าช้างแบบรวดเร็ว ทั้งหมด865 ราย คิดเป็นร้อยละ78.28พบเชื้อเท้าช้างในกระแสเลือดรายใหม่ จำนวน 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.52 ได้รับการติดตามรักษาทั้งหมด 4 ราย คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการรับประทานยารักษากลุ่มและลดการพแร่ระบาดโรคเท้าช้างในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมการรับประทานยารักษากลุ่มโรคเท้าช้างในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย

 

3 เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการรับประทานยารักษากลุ่มและลดการพแร่ระบาดโรคเท้าช้างในพื้นที่ (2) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเท้าช้างรายใหม่ได้รับการรักษาและติดตามเจาะเลือดซ้ำทุกราย (3) เพื่อลดพยาธิสภาพของผู้ป่วยที่ปรากฏอาการให้น้อยลง และได้รับการดูแลที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ จ่ายยารักษากลุ่ม (MDA)แก่ประชาชนในพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง (2) กิจกรรมเจาะเลือดในประชาชนพื้นที่เสี่ยงแพร่เชื้อโรคเท้าช้าง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh