โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 ”
หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3367-5-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 26 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3367-5-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 26 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางการแพทย์และสาธารณสุขในระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันตรงต่ออัตราตาย การป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกจึงส่งผลต่อสุขภาพของผู้ป่วย ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตามลำดับ หากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นที่ไม่ถูกต้อง อาจทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะช็อคและเสียชีวิตได้ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกจะพบบ่อยในกลุ่มเด็กอายุ ระหว่าง 5 - 9 ปี แต่ปัจจุบันมักพบผู้ป่วยได้ในทุกกลุ่มอายุ และโรคไข้เลือดออกนี้มียุงลายเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ สำหรับสถานการณ์โรคไข้เลือดออก 5 ปี ย้อนหลัง (พ.ศ. 2563 – พ.ศ. 2567) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ด พบว่ามีอัตราป่วย ดังนี้ 156.82, 0.00, 51.38, 254.71 และ 807.26 (ต่อแสนประชากร) ตามลำดับ จากการติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์โรคอย่างใกล้ชิด ระดมการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องซึ่งปัญหาที่ผ่านมา ได้แก่ 1. ประชาชนมักขาดความร่วมมือในการดูแลสิ่งแวดล้อมจนเกิดปัจจัยเอื้อให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย อันเป็นพาหะ (Vector) ในการแพร่กระจายโรค 2. ประชาชนขาดความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับวงจรชีวิตยุงลาย ไม่ให้ความสำคัญในการกำจัดตัวเต็มวัยและลูกน้ำยุงลายอย่างเหมาะสม 3. ประชาชนขาดความตระหนักที่จะเฝ้าระวังโรค ไม่เห็นความสำคัญและไม่สร้างนิสัยในการที่จะกำจัดยุงลายและช่วยกันดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชนตนเองอย่างต่อเนื่อง มักปล่อยให้เป็นหน้าที่ของ อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ทำหน้าที่ป้องกัน และควบคุมโรค 4. ทรัพยากร/วัสดุอุปกรณ์ ในการกำจัดยุงลายตัวเต็มวัยและลูกน้ำยุงลายมีไม่เพียงพอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโหล๊ะเร็ด ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 เพื่อควบคุมและลดปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก โดยเน้นให้บ้าน วัด โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และสถานที่ราชการ ทำการควบคุมป้องกันและสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงานในการป้องกันและควบคุมโรคอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดอัตราป่วยของผู้ป่วยไข้เลือดออก ให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
- เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ประชาชนทุกครัวเรือน นักเรียน ผู้นำชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง
- เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. อบรมฟื้นฟูให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่ผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน และ อสม.
- กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก สำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย แจกวัสดุป้องกันโรคไข้เลือดออก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 156.82 ต่อแสนประชากร 2.ประชาชนทุกครัวเรือนมีความรู้ ความเข้าใจในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้อย่างยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดอัตราป่วยของผู้ป่วยไข้เลือดออก ให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 156.82 ต่อแสนประชากร 2. อัตราป่วยตายโรคไข้เลือดออกไม่เกินร้อยละ 0.00 ต่อแสนประชากร |
807.26 | 156.82 |
|
|
2 | เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ประชาชนทุกครัวเรือน นักเรียน ผู้นำชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก |
50.00 | 70.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของครัวเรือน ได้รับวัสดุในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และมีพฤติกรรมในการป้องกันไข้เลือดออกที่ถูกต้อง |
30.00 | 40.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 100 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดอัตราป่วยของผู้ป่วยไข้เลือดออก ให้น้อยลง และควบคุมอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ได้ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด (2) เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ประชาชนทุกครัวเรือน นักเรียน ผู้นำชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจ ในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง (3) เพื่อให้ประชาชนมีพฤติกรรมในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมฟื้นฟูให้ความรู้การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่ผู้นำชุมชน แกนนำชุมชน และ อสม. (2) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก สำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลาย แจกวัสดุป้องกันโรคไข้เลือดออก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3367-5-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......