โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงอายุแล้ว (Aging Society) ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งเป็น ปีแรกที่มีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ ตามคำนิยามขององค์การ สหประชาชาตินั่นคือ ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเกินร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ โดยในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ มีประชากรที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปสูงถึงร้อยละ ๑๖.๗๓ ของประชากรทั้งประเทศ และจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงอายุ โดยสมบูรณ์(Complete - Aged Society) ในปีพ.ศ. ๒๕๖๔ เมื่อสัดส่วนผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ ๒๐ ทั้งนี้ประเทศไทยจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงอายุระดับสุดยอด(Super - Aged Society) ในปีพ.ศ. ๒๕๗๔ สัดส่วน ผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ ๒๘จากสถานการณ์ของผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบ ทั้งทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม การเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์สังคมสูงอายุจึงเป็นประเด็น ที่สำคัญ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพที่เรื้อรังซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ได้คาดประมาณงบประมาณที่ต้องใช้ในการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง โดยเฉลี่ยแล้วสูงถึงประมาณ ๑๕,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี จึงต้องเน้นให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพก่อนวัยสูงอายุและเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ เพื่อลดภาระด้านเศรษฐกิจของประเทศ สังคม และครอบครัว
จากการสำรวจข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า หมู่ ๕ , ๖ และ ๙ ตำบลควนกาหลง ปี ๒๕๖๕ –๒๕๖๗ พบว่า ปี ๒๕๖๕ มีผู้สูงอายุ ๕๑๘ คน ปี ๒๕๖๖ มีผู้สูงอายุ ๕๓๖ คน และปี ๒๕๖๗ มีผู้สูงอายุ ๖๑๖ คน ตามลำดับ ซึ่งจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในทุกๆปี ผู้สูงอายุร้อยละ ๗๕ มีความเจ็บป่วยด้วยโรค หรือปัญหาสุขภาพ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ข้อเข่าเสื่อม ผู้พิการ โรคซึมเศร้า และผู้ป่วยติดเตียง ขณะที่มีเพียงร้อยละ ๒๕ ที่ไม่มีโรคหรือปัญหาสุขภาพดังกล่าว นอกเหนือจากปัญหาด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุ ยังเผชิญปัญหาสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และระบบการดูแลที่ไม่ได้มาตรฐาน รวมถึงความมั่นคงทางด้านรายได้ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่มาจากพื้นฐานครอบครัวที่ยากจน นอกจากนี้ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังขาดการพัฒนาทักษะทั้งในการทำงาน และการดำรงชีวิตในสังคมให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอีกด้วย
จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับระดับความสุขของผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นทางกาย การเกษียณอายุ และการเปลี่ยนแปลงของรายได้ การตายจากของคู่ชีวิต และผู้เป็นที่รัก รวมถึงการปรับเปลี่ยนบทบาททางสังคม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน - พิปูนล้นเกล้า เห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม ป้องกันโรค และพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มีการวางแผน เตรียมการรองรับการเป็นผู้สูงอายุของตนเอง ผู้สูงอายุเป็นวัยที่ต้องการความรัก ต้องการการดูแลเอาใจใส่ จากลูกหลานและผู้ใกล้ชิด มีคนที่เข้าใจและคอยรับฟังสิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการบอกกล่าว เพื่อการมีกำลังใจ เกิดความ ภาคภูมิใจในตนเอง รวมถึงสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข เพื่อช่วยชะลอการเสื่อมถอยของร่างกาย และเป็นการเพิ่มการมีชีวิตที่ยืนยาวของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมส่งเสริมป้องกันโรคผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจข้อมูลทางสุขภาพ สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคและการเสื่อมถอยของร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
120
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมส่งเสริมป้องกันโรคผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายวีรวัฒน์ ล่าโยค
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมสูงอายุแล้ว (Aging Society) ตั้งแต่ปีพ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งเป็น ปีแรกที่มีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุมากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ ตามคำนิยามขององค์การ สหประชาชาตินั่นคือ ประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเกินร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ โดยในปีพ.ศ. ๒๕๖๒ มีประชากรที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปสูงถึงร้อยละ ๑๖.๗๓ ของประชากรทั้งประเทศ และจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงอายุ โดยสมบูรณ์(Complete - Aged Society) ในปีพ.ศ. ๒๕๖๔ เมื่อสัดส่วนผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ ๒๐ ทั้งนี้ประเทศไทยจะก้าวสู่การเป็นสังคมสูงอายุระดับสุดยอด(Super - Aged Society) ในปีพ.ศ. ๒๕๗๔ สัดส่วน ผู้สูงอายุ ๖๐ ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ ๒๘จากสถานการณ์ของผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบ ทั้งทางด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคมโดยรวม การเตรียมการเพื่อรองรับสถานการณ์สังคมสูงอายุจึงเป็นประเด็น ที่สำคัญ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพที่เรื้อรังซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย ได้คาดประมาณงบประมาณที่ต้องใช้ในการดูแลระยะยาว สำหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง โดยเฉลี่ยแล้วสูงถึงประมาณ ๑๕,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี จึงต้องเน้นให้ความสำคัญกับการส่งเสริมสุขภาพก่อนวัยสูงอายุและเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ เพื่อลดภาระด้านเศรษฐกิจของประเทศ สังคม และครอบครัว
จากการสำรวจข้อมูลของผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน-พิปูนล้นเกล้า หมู่ ๕ , ๖ และ ๙ ตำบลควนกาหลง ปี ๒๕๖๕ –๒๕๖๗ พบว่า ปี ๒๕๖๕ มีผู้สูงอายุ ๕๑๘ คน ปี ๒๕๖๖ มีผู้สูงอายุ ๕๓๖ คน และปี ๒๕๖๗ มีผู้สูงอายุ ๖๑๖ คน ตามลำดับ ซึ่งจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นในทุกๆปี ผู้สูงอายุร้อยละ ๗๕ มีความเจ็บป่วยด้วยโรค หรือปัญหาสุขภาพ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ข้อเข่าเสื่อม ผู้พิการ โรคซึมเศร้า และผู้ป่วยติดเตียง ขณะที่มีเพียงร้อยละ ๒๕ ที่ไม่มีโรคหรือปัญหาสุขภาพดังกล่าว นอกเหนือจากปัญหาด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุ ยังเผชิญปัญหาสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ และระบบการดูแลที่ไม่ได้มาตรฐาน รวมถึงความมั่นคงทางด้านรายได้ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้สูงอายุที่มาจากพื้นฐานครอบครัวที่ยากจน นอกจากนี้ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ยังขาดการพัฒนาทักษะทั้งในการทำงาน และการดำรงชีวิตในสังคมให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอีกด้วย
จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า การเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับระดับความสุขของผู้สูงอายุ ไม่ว่าจะเป็นทางกาย การเกษียณอายุ และการเปลี่ยนแปลงของรายได้ การตายจากของคู่ชีวิต และผู้เป็นที่รัก รวมถึงการปรับเปลี่ยนบทบาททางสังคม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกระทูน - พิปูนล้นเกล้า เห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริม ป้องกันโรค และพัฒนาศักยภาพของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ เพื่อให้ผู้สูงอายุมีการปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว มีการวางแผน เตรียมการรองรับการเป็นผู้สูงอายุของตนเอง ผู้สูงอายุเป็นวัยที่ต้องการความรัก ต้องการการดูแลเอาใจใส่ จากลูกหลานและผู้ใกล้ชิด มีคนที่เข้าใจและคอยรับฟังสิ่งที่ผู้สูงอายุต้องการบอกกล่าว เพื่อการมีกำลังใจ เกิดความ ภาคภูมิใจในตนเอง รวมถึงสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและมีความสุข เพื่อช่วยชะลอการเสื่อมถอยของร่างกาย และเป็นการเพิ่มการมีชีวิตที่ยืนยาวของผู้สูงอายุ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมส่งเสริมป้องกันโรคผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 120 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้สูงอายุ มีความรู้ ความเข้าใจข้อมูลทางสุขภาพ สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลง ลดความเสี่ยงของการเกิดโรคและการเสื่อมถอยของร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมส่งเสริมป้องกันโรคผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริม ป้องกันโรคของผู้สูงอายุบ้านกระทูนฯ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวีรวัฒน์ ล่าโยค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......