โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 ”
ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอามะ หะยีนิเงาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568
ที่อยู่ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3009-03-2 เลขที่ข้อตกลง 002/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3009-03-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขี้น เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จากภาวะนี้ทำให้เกิดความตื่นตัวและเตรียมการเพื่อรองรับ และให้การดูแลประชากรกลุ่มนี้มากขี้น จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิตแต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในการที่จะดูแลตนเองของผู้สูงอายุในช่วงเดือนรอมฎอน ซึ่งเป็นเดือนที่เก้าตามปฏิทินอิสลามซึ่งเป็นปฏิทินทางจันทรคติ ที่ต้องมีการถืออดอาหาร หรือเรียกอีกอย่างว่า “ถือศีลอด” ซึ่งเป็นข้อบังคับเหนือมุสลิมทุกคนที่บรรลุศาสนภาวะ จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือต้วผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในโดยเฉพาะเรื่องการเปลี่ยนแปลงการกินอาหารและน้ำดื่ม ทำให้ยาที่อิงกับมื้ออาหาร หรือยาที่ต้องกินในช่วงเวลาที่นอกเหนือไปจากที่ศาสนาอนุมัตินั้นต้องมีการปรับเปลี่ยนตามไปด้วย หลัก ๆ ที่สำคัญคือยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด สำหรับผู้ป่วยเบาหวานเนื่องจากยาเบาหวานที่ใช้กันเป็นหลักจะอิงกับมื้ออาหาร รวมทั้งอินสุลินด้วย ดังนั้นมื้ออาหารที่ปรับเปลี่ยนไปนั้นส่งผลกระทบต่อเวลาการบริหารยาเบาหวานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และอาหารที่รับประทานใน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สูงอายุควรได้รับความรู้ช่วยให้ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติศาสนากิจได้อย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน
- เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และมีโภชนาการที่ดี
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเรื่อง การเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน และฝึกปฏิบัติการเรื่อง วิธีการดูแลสุขภาพกายให้แข็งแรง การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
- ค่าตอบแทนวิทยากร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ความการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน
- ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและมีโภชนาการที่ดี สามารถอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็นสุข
- เครือข่ายสุขภาพในชุมขนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
- ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน
2
เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และมีโภชนาการที่ดี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะในช่วงเดือนรอมฎอน
3
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
70
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน (2) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และมีโภชนาการที่ดี (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเรื่อง การเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน และฝึกปฏิบัติการเรื่อง วิธีการดูแลสุขภาพกายให้แข็งแรง การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ (2) ค่าตอบแทนวิทยากร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3009-03-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอามะ หะยีนิเงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 ”
ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายอามะ หะยีนิเงาะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3009-03-2 เลขที่ข้อตกลง 002/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ณ ห้องประชุมองค์การบริหารส่วน ตำบลกะมิยอ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3009-03-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะมิยอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขี้น เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ จากภาวะนี้ทำให้เกิดความตื่นตัวและเตรียมการเพื่อรองรับ และให้การดูแลประชากรกลุ่มนี้มากขี้น จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพังหรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิตแต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในการที่จะดูแลตนเองของผู้สูงอายุในช่วงเดือนรอมฎอน ซึ่งเป็นเดือนที่เก้าตามปฏิทินอิสลามซึ่งเป็นปฏิทินทางจันทรคติ ที่ต้องมีการถืออดอาหาร หรือเรียกอีกอย่างว่า “ถือศีลอด” ซึ่งเป็นข้อบังคับเหนือมุสลิมทุกคนที่บรรลุศาสนภาวะ จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้าหมายคือต้วผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในโดยเฉพาะเรื่องการเปลี่ยนแปลงการกินอาหารและน้ำดื่ม ทำให้ยาที่อิงกับมื้ออาหาร หรือยาที่ต้องกินในช่วงเวลาที่นอกเหนือไปจากที่ศาสนาอนุมัตินั้นต้องมีการปรับเปลี่ยนตามไปด้วย หลัก ๆ ที่สำคัญคือยาควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด สำหรับผู้ป่วยเบาหวานเนื่องจากยาเบาหวานที่ใช้กันเป็นหลักจะอิงกับมื้ออาหาร รวมทั้งอินสุลินด้วย ดังนั้นมื้ออาหารที่ปรับเปลี่ยนไปนั้นส่งผลกระทบต่อเวลาการบริหารยาเบาหวานอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และอาหารที่รับประทานใน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้สูงอายุควรได้รับความรู้ช่วยให้ผู้สูงอายุได้ปฏิบัติศาสนากิจได้อย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน
- เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และมีโภชนาการที่ดี
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเรื่อง การเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน และฝึกปฏิบัติการเรื่อง วิธีการดูแลสุขภาพกายให้แข็งแรง การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ
- ค่าตอบแทนวิทยากร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีความรู้ความการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน
- ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและมีโภชนาการที่ดี สามารถอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็นสุข
- เครือข่ายสุขภาพในชุมขนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
- ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมต่อเนื่อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และมีโภชนาการที่ดี ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้รับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะในช่วงเดือนรอมฎอน |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 70 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน (2) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ และมีโภชนาการที่ดี (3) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์และมีการช่วยเหลือกันในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุเรื่อง การเตรียมตัวในการปรับเปลี่ยนการกินอาหารและน้ำดื่ม และการกินยาในช่วงเดือนรอมฎอน และฝึกปฏิบัติการเรื่อง วิธีการดูแลสุขภาพกายให้แข็งแรง การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ (2) ค่าตอบแทนวิทยากร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมด้านสุขภาพกาย และด้านโภชนาการ ผู้สูงอายุ ประจำปี 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3009-03-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอามะ หะยีนิเงาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......