โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางยุวดี ลื่อเท่ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลประชากรของประเทศไทยปี 2556 ประชากรไทยมีจำนวน 64.6 ล้านคน เป็นผู้สูงอายุมากถึง 9.6 ล้านคน คาดว่าในปี 2573 จะมีจำนวนผู้สูงอายุ 17.6 ล้านคน (ร้อยละ 26.3)และปี 2583 จะมีจำนวนถึง 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ซึ่งหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้ร่วมกันดำเนินงานเพื่อคุ้มครอง ส่งเสริม และสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมของผู้สูงอายุ จากการประเมินสภาวะสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีอายุยืนยาวขึ้น แต่ก็ต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้นด้วย จากการศึกษาภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาปวดข้อเข่า ในสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง คือ ร้อยละ 43.95 ส่วนใหญ่อาการปวดข้อเข่ามีสาเหตุมาจาก ข้อเข่าเสื่อม ปัญหาปวดข้อเข่าทำ ให้ผู้สูงอายุ เกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหว ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุลดลงเป็นอุปสรรคในการเข้าสังคม ทำให้สูญเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก และส่งผลต่อร่างกายจากการใช้ยาแก้ปวดหรือวิธีการจัดการอาการ ปวดที่ไม่เหมาะสมความเจ็บปวดส่งผลให้ผู้สูงอายุ ต้องหาวิธีการที่จะจัดการกับอาการโดยการซื้อยากินเอง ถึงร้อยละ 3.9 ซึ่งอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ เช่น ระคายเคืองเยื่อบุกระเพาะอาหาร อาจมีอาการปวด ท้องและเลือดออกได้ อาการปวดข้อเข่าสามารถที่จะ บรรเทาได้โดยไม่ต้องใช้ยาแก้ปวด เช่น การบริหารแบบ ไทยท่าฤๅษีดัดตนที่จะช่วยชะลอความเสื่อมของผู้สูงอายุ การออกกำลังกายหรือการบริหารกล้ามเนื้อรอบเข่า มีผล ในการเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ เพิ่มความสามารถในการเดิน และลดความเจ็บปวดลงได้ผู้สูงอายุเมื่อมีอาการปวด จะไม่ขยับข้อข้างที่ปวด ส่งผลให้ไม่ออกกำลังกายหรือ บริหารกล้ามเนื้อรอบข้ออาการปวดหรือความ รุนแรงของโรคก็จะมีผลต่อความสามารถของผู้สูงอายุ ด้วย ดังนั้นเพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและเพื่อพัฒนาระบบบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทางแพทย์แผนไทยให้อยู่ในระดับที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน เพื่อให้ประชาชนได้มีทางเลือกในรักษามากขึ้น แบบครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ และเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การตรวจคัดกรอง ผู้ป่วยเข่าเสื่อม จำนวน 35 คน ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมได้อย่างถูกต้อง
- การรักษา ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ
- ส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อาสาสมัคร ในชุมชน สามารถคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมทางคลินิกได้
2.ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเองได้
3.ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม มีอาการของโรคเข่าเสื่อมดีขึ้น
4.เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการใช้สมุนไพรพื้นบ้านดูแลตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
การตรวจคัดกรอง ผู้ป่วยเข่าเสื่อม จำนวน 35 คน ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ผสมผสาน ร้อยละ 60
2
การรักษา ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ
ตัวชี้วัด : ความพึงพอใจของผู้มารับบริการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80
3
ส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีการใช้สมุนไพรในชุมชนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
35
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การตรวจคัดกรอง ผู้ป่วยเข่าเสื่อม จำนวน 35 คน ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมได้อย่างถูกต้อง (2) การรักษา ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ (3) ส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยุวดี ลื่อเท่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางยุวดี ลื่อเท่ง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากข้อมูลประชากรของประเทศไทยปี 2556 ประชากรไทยมีจำนวน 64.6 ล้านคน เป็นผู้สูงอายุมากถึง 9.6 ล้านคน คาดว่าในปี 2573 จะมีจำนวนผู้สูงอายุ 17.6 ล้านคน (ร้อยละ 26.3)และปี 2583 จะมีจำนวนถึง 20.5 ล้านคน (ร้อยละ 32.1) ซึ่งหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน ได้ร่วมกันดำเนินงานเพื่อคุ้มครอง ส่งเสริม และสนับสนุนสถานภาพ บทบาท และกิจกรรมของผู้สูงอายุ จากการประเมินสภาวะสุขภาพ พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีอายุยืนยาวขึ้น แต่ก็ต้องเผชิญกับปัญหาสุขภาพเพิ่มขึ้นด้วย จากการศึกษาภาวะสุขภาพผู้สูงอายุไทย พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาปวดข้อเข่า ในสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง คือ ร้อยละ 43.95 ส่วนใหญ่อาการปวดข้อเข่ามีสาเหตุมาจาก ข้อเข่าเสื่อม ปัญหาปวดข้อเข่าทำ ให้ผู้สูงอายุ เกิดความยากลำบากในการเคลื่อนไหว ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุลดลงเป็นอุปสรรคในการเข้าสังคม ทำให้สูญเสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษาจำนวนมาก และส่งผลต่อร่างกายจากการใช้ยาแก้ปวดหรือวิธีการจัดการอาการ ปวดที่ไม่เหมาะสมความเจ็บปวดส่งผลให้ผู้สูงอายุ ต้องหาวิธีการที่จะจัดการกับอาการโดยการซื้อยากินเอง ถึงร้อยละ 3.9 ซึ่งอาจเกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาได้ เช่น ระคายเคืองเยื่อบุกระเพาะอาหาร อาจมีอาการปวด ท้องและเลือดออกได้ อาการปวดข้อเข่าสามารถที่จะ บรรเทาได้โดยไม่ต้องใช้ยาแก้ปวด เช่น การบริหารแบบ ไทยท่าฤๅษีดัดตนที่จะช่วยชะลอความเสื่อมของผู้สูงอายุ การออกกำลังกายหรือการบริหารกล้ามเนื้อรอบเข่า มีผล ในการเพิ่มกำลังกล้ามเนื้อ เพิ่มความสามารถในการเดิน และลดความเจ็บปวดลงได้ผู้สูงอายุเมื่อมีอาการปวด จะไม่ขยับข้อข้างที่ปวด ส่งผลให้ไม่ออกกำลังกายหรือ บริหารกล้ามเนื้อรอบข้ออาการปวดหรือความ รุนแรงของโรคก็จะมีผลต่อความสามารถของผู้สูงอายุ ด้วย ดังนั้นเพื่อสนับสนุนโยบายของรัฐบาลและตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการและเพื่อพัฒนาระบบบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคทางแพทย์แผนไทยให้อยู่ในระดับที่ดีและมีประสิทธิภาพมากขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน เพื่อให้ประชาชนได้มีทางเลือกในรักษามากขึ้น แบบครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ และเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของผู้รับบริการมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- การตรวจคัดกรอง ผู้ป่วยเข่าเสื่อม จำนวน 35 คน ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมได้อย่างถูกต้อง
- การรักษา ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ
- ส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 35 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.อาสาสมัคร ในชุมชน สามารถคัดกรองโรคข้อเข่าเสื่อมทางคลินิกได้
2.ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเองได้
3.ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม มีอาการของโรคเข่าเสื่อมดีขึ้น
4.เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ในการใช้สมุนไพรพื้นบ้านดูแลตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | การตรวจคัดกรอง ผู้ป่วยเข่าเสื่อม จำนวน 35 คน ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อมได้รับการดูแลด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและแพทย์ผสมผสาน ร้อยละ 60 |
|
|||
2 | การรักษา ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ ตัวชี้วัด : ความพึงพอใจของผู้มารับบริการแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80 |
|
|||
3 | ส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน ตัวชี้วัด : มีการใช้สมุนไพรในชุมชนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 5 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การตรวจคัดกรอง ผู้ป่วยเข่าเสื่อม จำนวน 35 คน ประเมินภาวะสุขภาพและการค้นหาผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อมได้อย่างถูกต้อง (2) การรักษา ฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาวิเศษ (3) ส่งเสริมการใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการลดเจ็บบรรเทาปวดจากเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยุวดี ลื่อเท่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......