กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในชุมชน
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น มากกว่าร้อยละ 50
1.00

 

2 ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station สุขภาพดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมสถานีสุขภาพ มีภาวะสุขภาพที่ดีเมื่อเทียบจากปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นร้อยละ 30
1.00

 

3 อสม.ที่ให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station มีความรู้ Application มากขึ้น
ตัวชี้วัด : อสม.ในหมู่บ้านมีความรู้เรื่อง Application มากกว่าร้อยละ 80
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 901
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 236
กลุ่มวัยทำงาน 414
กลุ่มผู้สูงอายุ 144
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 15
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 17
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งจุดบริการตรวจเช็คสุขภาพด้วยตนเองในชุมชน (2) ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station  สุขภาพดีขึ้น (3) อสม.ที่ให้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station  มีความรู้ Application มากขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดหาสถานที่ตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station หมู่ที่ 6 บ้านป่าโอน ตำบลเทพา อำเภอเทพา (2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์ จัดหาชุดเครื่องมือในการใช้บริการในจุดบริการ สถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station (3) ให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ คัดกรองเบื้องต้นประกอบด้วย ดัชนีมวลกาย, รอบเอว และวัดระดับความดันโลหิต คัดกรองปัจจัยเสี่ยง การสูบบุหรี่, การดื่มสุรา และประเมินสุขภาพจิต ร่วมถึงการตรวจระดับน้ำตาล ในเลือด (4) ประชุมคณะทำงาน และร่วมจัดเตรียมสถานที่ เครื่องมือ และอุปกรณ์พื้นฐาน ที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน (5) กิจกรรมส่งเสริมความรู้ อสม. ให้สามารถใช้อุปกรณ์  การตรวจคัดกรองและใช้ Application ได้ถูกต้อง เพื่อเสริมสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพลดการป่วยจาก โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (6) จัดกิจกรรมให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ประชาชนที่มาร่วมกิจกรรมสถานีสุขภาพชุมชน 3 ฐาน (7) สรุปผลการดำเนินงานโครงการส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลเทพา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh