กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่1 1. เพื่อส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารก หลังคลอดและเด็กปฐมวัย โดยให้การดูแลแบบบูรณาการตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการที่เหมาะสมของ หญิงตั้งครรภ์ มารดา/ทารกหลังคลอด และเด็กปฐมวัย 3. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด และครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพและสามารถดูแลตนเองและเลี้ยงดูบุตรได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 4. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัวและสังคมตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพแม่และเด็กและการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกภายใน 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 2. หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 3. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด . ไม่เกินร้อยละ 16 4. ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 5. หญิงหลังคลอดได้รับการดูแลครบ 3 ครั้ง ตามเกณฑ์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 6. เด็กแรกเกิด – ต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่ อย่างเดียว ร้อยละ 50 7. เด็กปฐมวัยมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 8. เด็ก 9 18 30 และ 42 60 เดือน ได้รับการตรวจ คัดกรองพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 9. เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85
30.00

 

 

 

2 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 2 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. และเครือข่ายในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ มารดา ทารกแรกเกิด – 6 ปี ได้อย่างเหมาะสม ปลอดภัย ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ และสังคม
ตัวชี้วัด : 1. ผล Pre-test -Post-test (Post-test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ) ** ร่วมกับตัวชี้วัด วัตถุประสงค์ข้อที่ 1
80.00

 

 

 

3 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 1. เพื่อพัฒนาทักษะความรู้ในการดูแลทารกแรกคลอด – 6 ปี ในผู้ปกครอง เพื่อเด็กได้รับการดูแลครบทั้ง 5 ด้านคุณภาพ คือ พัฒนาการดี สูงดีสมส่วน ไม่ซีด วัคซีนครบ ฟันดี
ตัวชี้วัด : 1. เด็ก0-5 มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 2. เด็ก 9 ,18, 30, 42 และ60 เดือน ได้รับการตรวจ คัดกรองพัฒนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 3. เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 4. เด็ก 6 เดือน – 2 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซีด อย่างน้อย 1 ครั้งและรับยาบำรุงเลือด
60.00